ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แฟลเจลลัม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
แฟลเจลลัมในเซลล์ยูคาริโอตมีโครงสร้างไมโครทูบูลเรียงตัวกันเป็นวง 9 คู่ ล้อมรอบไมโครทูบูลที่ไม่มีคู่สองหลอดอยู่ตรงกลาง โครงสร้าง "9+2" นี้ก่อให้เกิดโครงสร้างที่ซับซ้อนตรงแกนของส่วนที่ยื่นออกมา เรียกว่า[[เเอ็กโซนีม]] (axoneme) โดยระหว่างไมโครทูบูลที่เรียงเป็นวงจะมี[[โปรตีน]][[ไดนีน]]ต่อออกมา ทำหน้าที่เป็นเสมือนแขนที่ต่อกับไมโครทูบูล และทำให้แฟลเจลลัมสามารถพัดโบกได้ นอกจากนี้ตรงโคนของแฟลเจลลัมยังยึดติดกับโครงสร้างภายในเซลล์เรียกว่า[[เบซัลบอดี]] หรือไคนีโทโซม (basal body หรือ kitenosome) ซึ่งทำหน้าที่เป็นส่วนกลางในการควบคุมไมโครทูบูลที่ค้ำจุนแฟลเจลลัมอยู่ มีโครงสร้างที่ประกอบด้วยไมโครทูบูลจัดเป็นกลุ่ม กลุ่มละสาม โดยที่ไม่มีไมโครทูบูลตรงกลาง จึงเรียกโครงสร้างนี้ว่าโครงสร้าง "9+0" ซึ่งโครงสร้างแบบนี้เป็นโครงสร้างเดียวกับ[[เซนทริโอล]] (centriole) ในเซลล์สัตว์
 
[[หมวดหมู่:{{ออร์แกเนลล์|ฟแลกเจลลัม]]}}
 
[[หมวดหมู่:ออร์แกเนลล์|ฟแลเจลลัม]]
 
{{โครงชีววิทยา}}