ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หินแปร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 6:
ทางที่แรงเค้นกระทำ เช่น
 
'''หินชนวน'''<ref>[http://www.mwit.ac.th/~weerawut/doc/Doc2/Lesson4_page_115_123.pdf หินชนวน]</ref> เป็นหินมีลักษณะเนื้อละเอียดมาก ผลึกแร่ตรวจไม่พบด้วยตาเปล่า แสดงแนวแตกเรียบแบบหินชนวน (slaty cleavage) และกะเทาะออกเป็นแผ่นเรียบบางได้ง่าย มีได้หลากสีแต่มักสี เทา ดำ เขียว แดง มีประโยชน์ในการนำมาปูทำหลังคา กระดานดำ และทางเท้า[[ไฟล์:หินชนวน.jpg|thumb|หินชนวน เนื้อละเอียด]]
 
'''หินชีสต์'''<ref>[http://www.mwit.ac.th/~weerawut/doc/Doc2/Lesson4_page_115_123.pdf หินชีสต์]</ref> มีเม็ดปานกลางถึงหยาบ เกิดขึ้นภายใต้ความดันมหาศาลกว่าหินชนวน ประกอบด้วยแร่ไมกาเป็นหลัก บางครั้งก็มี คลอไรต์ ทัลก์ แกรไฟต์ ฮีมาไทต์ เป็นต้น ที่เรียงตัวเกือบขนานกัน เรียกว่า แนวแตกแบบหินชีสต์(schistosity)<ref>[http://www.mwit.ac.th/~weerawut/doc/Doc2/Lesson4_page_115_123.pdf schistosity]</ref> บ่อยครั้งที่ปริแยกออกตามชั้นหรือแผ่นบางซึ่งคดงอและแตกหักได้ง่าย เพื่อระบุชื่อหินให้ชัดเจน จึงเรียกชื่อตามจุดเด่นของแร่ที่เด่นมองเห็นบนพื้นผิวนำหน้าหิน
 
'''หินฟิลไลต์'''<ref>[http://www.mwit.ac.th/~weerawut/doc/Doc2/Lesson4_page_115_123.pdf หินฟิลไลต์]</ref> เป็นหินเม็ดละเอียดกว่าหินชีสต์ แต่หยาบกว่าหินชนวน ผิวที่แตกใหม่จะมีลักษณะวาวแบบไหมหรือเป็นมันเงา เนื่องจากมีแร่ไมกาเม็ดละเอียดอยู่ มักเปลี่ยนมาจากหินดินดาน ด้วยความดันมหาศาลกว่าที่หินชนวนได้รับ แต่ไม่รุนแรงกว่าเท่าที่เกิดกับหินชีสต์
 
'''หินไนส์'''<ref>[http://www3.ipst.ac.th/research/assets/web/mahidol/earth_science%284%29/chapter3_2.html Metamorphic Rock Gneiss]</ref> เป็นหินลายเม็ดหยาบที่เกิดจากแปรสภาพอย่างรุนแรงมาก มีลักษณะแร่สีอ่อน เช่น ควอตซ์ เฟลด์สปาร์ เรียงตัวเป็นแถบเป็นลายสลับกับแถบของแร่สีเข้ม เช่น แร่ไบโอไทต์ ฮอร์นเบลนด์ แถบมีการโค้งงอและบิดเบี้ยว เรียกว่า สภาพเรียงตัวแบบหินไนส์ (gneissosity)
 
===หินไม่เป็นริ้วขนาน===
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/หินแปร"