ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รังสีแกมมา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
'''รังสีแกมมา''' ({{lang-en|gammaGamma radiation หรือ Gamma ray}}) คือมีสัญญลักษณ์เป็นตัวอักษรกรีกว่า γ เป็น[[คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]]ชนิดหนึ่ง ที่มีช่วง[[ความยาวคลื่น]]สั้นกว่า[[รังสีเอกซ์]] (X-ray) ที่โดยมี[[ความยาวคลื่น]]อยู่ในช่วง 10<sup>-13</sup> ถึง 10<sup>-17</sup> หรือก็คือคลื่นที่มี[[ความยาวคลื่น]]น้อยกว่า 10<sup>-13</sup> นั่นเอง การที่[[ความยาวคลื่น]]สั้นนั้น ย่อมหมายถึง[[รังสีแกมมามีความถี่]]ที่สูงมาก และดังนั้นมันจึงประกอบด้วยโปรตอนพลังงานที่สูงตามไปด้วยหลายตัว รังสีแกมมาเป็นการแผ่รังสีแบบ ionization มันจึงมีอันตรายต่อชีวภาพ ดังนั้นรังสีแกมมาถือเป็น[[คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]]ที่มีพลังงานสูงที่สุดในบรรดา[[คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]]ชนิดต่าง ๆ ที่เหลือทั้งหมด การสลายให้รังสีแกมมาเป็นการสลายของนิวเคลียสของอะตอมในขณะที่มีการเปลี่ยนสถานะจากสถานะพลังงานสูงไปเป็นสถานะที่ต่ำกว่า แต่ก็อาจเกิดจากกระบวนการอื่น
 
== การค้นพบ ==
การค้นพบรังสีแกมมา โดย พอล วิลลาร์ด (Paul Villard) นักฟิสิกส์ฝรั่งเศส พอล วิลลาร์ด ค้นพบรังสีแกมมาจากการศึกษากัมมันตภาพรังสีที่ออกมาจากยูเรเนียม ซึ่งถูกค้นพบมาก่อนแล้วว่าบางส่วนจะเบนไปทางหนึ่ง เมื่อผ่านสนามแม่เหล็กบางส่วนจะเบนไปอีกทางหนึ่ง กัมมันตภาพรังสีทั้งสองประเภทนี้ คือ รังสีแอลฟา และรังสีบีตา