ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องปรับอากาศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khaniztha Fueangdet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Khaniztha Fueangdet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
ประเภทของเครื่องปรับอากาศภายใน[[บ้านเรือน]] ถ้าแบ่งตามลักษณะตำแหน่งของแฟนคอยล์ ยุนิท (ตัวพัดลมที่เป่าความร้อนออกไปภายนอก) จะแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
 
==='''แบบชิ้นเดียว''' ===
*'''แบบชิ้นเดียว''' หรือที่พวกเราคุ้นเคยในในชื่อ แอร์ฝังหน้าต่าง/ผนัง (window type) ตัวแฟนคอยล์ ยุนิตจะอยู่เป็นชิ้นเดียวกับตัวคอนเดนซิ่ง ยุนิต (ส่วนที่เป่าลมเย็นให้กับภายในห้อง) ข้อดีของเครื่องแบบนี้คือขนาดกะทัดรัด ติดตั้งง่ายเพราะไม่ต้องเดินท่อน้ำยาแอร์ แต่ข้อเสียคือ เสียงจะค่อนข้างดัง(โดยเฉพาะเมื่อมันเก่ามากๆ) แรงสั่นสะเทือนที่กระทำต่อตัวเครื่องและโครงสร้างของจุดที่ติดตั้งก็มีสูง และถ้าเครื่องมีขนาดขนาดใหญ่เกินไปจะมีปัญหาในการติดตั้ง เพราะบริเวณเพราะบริเวณช่องหน้าต่าง/ผนังไม่สามารถรับน้ำหนักมากได้ ต้องทำโครงสร้างมาช่วยค้ำจุนเพิ่ม
นอกจากนี้ภายในตัวเครื่องยังประกอบด้วยวงจรการทำความเย็นและวงจรการหมุนเวียนอากาศสมบูรณ์ในตัว ซึ่งวงจรการหมุนเวียนของอากาศจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ วงจรการหมุนเวียนของอากาศภายนอกห้องและวงจรหมุนเวียนของอากาศภายในห้อง โดยมีมอเตอร์ชนิด แกนพลาเป็นตัวขับเคลื่อนใบพัดให้เกิดการหมุนเวียนของอากาศ<ref>http://www.air-mitsubishi.com/wall-aircondition.html</ref>
 
==='''แบบแยกชิ้น'''===
*'''แบบแยกชิ้น''' ([[อังกฤษ]]: split type) เป็นแบบที่เราเห็นกันได้ทั่วไปและนิยมมากที่สุด โดยตัวแฟนคอยล์ ยุนิตนั้นจะแยกไปติดตั้งภายนอกอาคาร ทำให่มีข้อดีคือเงียบ และมีรูปแบบให้เลือกค่อนข้างมาก ข้อเสียคือการติดตั้งที่จะค่อนข้างเสียเวลาเพราะต้องมีการเดินท่อน้ำยาแอร์
 
น้ำยาแอร์ปัจจุบันที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศภายทั่วไปรวมถึงตู้เย็นและเครื่องปรับอากาศแบบส่วนกลางที่ใช้ในอาคารขนาดใหญ่ ในปัจจุบันมีชื่อเรียกทางเคมีว่า R-22 ส่วนน้ำยาแอร์สำหรับใช้ในรถยนต์มีชื่อเรียกทางเคมีว่า R-134A