ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิทินจูเลียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขความผิดพลาดการพิมพ์
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ปฏิทิน}}
 
'''ปฏิทินจูเลียน''' ([[ภาษาอังกฤษ{{lang-en|อังกฤษ]]: Julian calendar}}; คำว่า จูเลียน แปลว่า แห่งจูเลียส) เป็น[[ปฏิทิน]]ที่สร้างขึ้นโดยกงศุล กงสุล[[จูเลียส ซีซาร์]] แห่ง[[โรมัน]] โดยปฏิรูปจาก[[ปฏิทินโรมัน]] เมื่อ 46 ปีก่อนคริสตกาลคริสต์ศักราช มีผลบังคับใช้ในปีถัดไปคือ 45 ปีก่อนคริสตกาลคริสต์ศักราช
 
รอบปีหนึ่งของปฏิทินจูเลียนมี 12 เดือน มีจำนวนวันรวม 365 วัน นอกจากนี้เดือนกุมภาพันธ์จะเพิ่ม[[อธิกวาร]]ทุก ๆ สี่ปี ดังนั้นรอบปีโดยเฉลี่ยต่อสี่ปีของปฏิทินจูเลียนเท่ากับ 365.25 วัน
บรรทัด 44:
ถ้ามีการจัดการอย่างถูกต้อง ระบบนี้จะทำให้รอบปีโดยเฉลี่ยของโรมันตรงกับปีที่นับตามสุริยคติอย่างหยาบ ๆ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปุโรหิตสูงสุดมักจะเป็น[[นักการเมือง]] และเนื่องจากระยะเวลาดำรงตำแหน่งนักปกครองของโรมันอ้างอิงตามปีปฏิทิน อำนาจเช่นนี้มีแนวโน้มว่าจะถูกใช้ในทางที่ผิด กล่าวคือ ปุโรหิตสูงสุดสามารถขยายรอบปีให้ยาวขึ้น เพื่อให้เขาและพันธมิตรสามารถดำรงตำแหน่งนานขึ้น หรือสามารถปฏิเสธการขยายรอบปีเพื่อกำจัดปรปักษ์มิให้อยู่ในตำแหน่ง <ref>Censorinus, [http://penelope.uchicago.edu/Thayer/L/Roman/Texts/Censorinus/text*.html#20.7 ''De die natali'' 20.7] (Latin)</ref>
 
หากการแทรกเดือนถูกละเลยมากครั้งเกินไป ดังเช่นที่ปรากฏหลังจาก[[สงครามพิวนิกครั้งที่สอง]]และระหว่าง[[สงครามกลางเมืองในโรมัน]] ปฏิทินจะเบี่ยงเบนออกจากปีที่นับตามสุริยคติอย่างรวดเร็ว ยิ่งไปกว่านี้ การแทรกเดือนมักจะถูกพิจารณาค่อนข้างล่าช้า ทำให้ประชาชนชาวโรมันโดยทั่วไปไม่ทราบวันที่ โดยเฉพาะประชาชนที่อยู่ห่างไกลจากตัวเมือง ด้วยสาเหตุดังกล่าวทำให้หลายปีก่อนเกิดปฏิทินจูเลียนถูกเรียกว่า "ปีแห่งความสับสน" (years of confusion) ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้รุนแรงยิ่งขึ้นในช่วงที่[[จูเลียส ซีซาร์]]ครองโรมก่อนมีการปฏิรูป เมื่อ 63–46 ปีก่อนคริสตกาลคริสต์ศักราช มีการแทรกเดือนเพียงห้าครั้งและไม่มีอีกเลยในห้าปีสุดท้าย แทนที่ควรจะมีแปดครั้ง
 
เพื่อที่จะแก้ปัญหาเหล่านี้อย่างถาวร จูเลียส ซีซาร์ จึงบัญชาให้มีการปฏิรูปปฏิทิน โดยการสร้างปฏิทินขึ้นจากวิถีโคจรของ[[ดวงอาทิตย์]]โดยปราศจากการแทรกแซงจากมนุษย์ คุณลักษณะดังกล่าวก็ได้รับการพิสูจน์ว่าเป็นประโยชน์ในเวลาไม่นานหลังจากปฏิทินใหม่เริ่มมีผลบังคับใช้ ต่อมา 37 ปีก่อนคริสตกาลคริสต์ศักราช [[Varro]] ใช้ปฏิทินนี้เพื่อกำหนดวันที่เริ่มต้นของ[[ฤดูกาล]]ทั้งสี่ ซึ่งไม่สามารถกระทำได้เลยเฉพาะเมื่อ 8 ปีก่อน <ref>Varro, [http://penelope.uchicago.edu/Thayer/E/Roman/Texts/Varro/de_Re_Rustica/1*.html#28 ''On Agriculture'' I.1.28]</ref> หลังจากหนึ่งศตวรรษผ่านไป [[Pliny]] ระบุว่า[[เหมายัน]]ตรงกับวันที่ [[25 ธันวาคม]] เพราะว่าดวงอาทิตย์อยู่ในตำแหน่งองศาที่แปดของ[[ราศีมังกรมกร]]ในวันนั้น <ref>Pliny, ''Natural History:'' [http://www.perseus.tufts.edu/hopper/text?doc=Perseus%3Atext%3A1999.02.0137%3Abook%3D18%3Achapter%3D59 ''(Book 18, LIX / LXVI / LXVIII / LXXIV)'']</ref> (ในวิทยาศาสตร์ปัจจุบัน เหมายันไม่ใช่วันดังกล่าว)
 
== ชื่อเดือนเปลี่ยนแปลงเนื่องจากการเมือง ==