ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พลังงานยึดเหนี่ยว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 2:
 
== หลักการทั่วไป ==
โดยทั่วไป พลังงานยึดเหนี่ยวแสดงออกมาในรูปของหมายถึงงานเชิงกลที่ต้องทำใช้เพื่อต่อต้านกับแรงที่ยึดวัตถุหนึ่งไว้ด้วยกัน เป็นการแยกวัตถุออกเป็นชิ้นส่วนแยกออกจากกันย่อยโดยมีระยะห่างระหว่างชิ้นส่วนที่มากพอที่ว่าการจนการแยกส่วนเพิ่มเติมจะต้องการงานที่มากขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
 
ในระดับอะตอม '''พลังงานยึดเหนี่ยวของอะตอม''' มาจากปฏิสัมพันธ์ทางแม่เหล็กไฟฟ้าและเป็นพลังงานที่ต้องใช้เพื่อแยกอะตอมออกเป็นอิเล็กทรอนอิเล็กตรอนอิสระและนิวเคลียส<ref>"Nuclear Power Binding Energy". Retrieved 16 May 2015.</ref> '''พลังงานยึดเหนี่ยวของอิเล็กตรอน''' เป็นพลังงานที่ต้องใช้เพื่อปล่อยอิเล็กตรอนให้เป็นอิสระจากวงโคจรของอะตอม พลังงานนี้เรียกว่าพลังงานไอโอไนซ์ ({{lang-en|ionization energy}})<ref>IUPAC, Compendium of Chemical Terminology, 2nd ed. (the "Gold Book") (1997). Online corrected version: (2006–) "Ionization energy".</ref>
 
ในระดับโมเลกุล พลังงานยึดเหนี่ยวและพลังงานยึด-แยก ({{lang-en|bond energy and bond-dissociation energy}}) เป็นพลังงานที่ยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมหนึ่งกับอีกอะตอมหนึ่งในการยึดเหนี่ยวทางเคมี
 
ในระดับนิวเคลียร์ พลังงานยึดเหนี่ยวก็เท่ากับพลังงานปลดแอกที่ถูกใช้ปลดปล่อยให้เป็นอืสระเมื่อนิวเคลียสหนึ่งถูกสร้างขึ้นจากนิวดลีออนคลีออนหรือนิวเคลียสอื่น ๆ<ref>Britannica Online Encyclopaedia - "nuclear binding energy". Accessed 8 September 2010. http://www.britannica.com/EBchecked/topic/65615/binding-energy</ref><ref>Nuclear Engineering - "Binding Energy". Bill Garland, McMaster University. Accessed 8 September 2010. http://www.nuceng.ca/igna/binding_energy.htm</ref> พลังงานยึดเหนี่ยวนิวเคลียร์นี้(พลังงานยึดเหนี่ยวของ[[นิวคลีออน]]ทั้งหลายให้เป็นหนึ่ง[[นิวไคลด์]]) ได้มาจาก'แรงนิวเคลียร์' (ปฏิสัมพันธ์ที่เหลือค้างอย่างแรง)และเป็นพลังงานที่ต้องใช้เพื่อแยกนิวเคลียสหนึ่งให้แตกออกเป็นนิวตรอนและโปรตอนอิสระในจำนวนที่เท่ากันกับที่พวกมันถูกยึดเหนี่ยวกันไว้ เพื่อที่ว่านิวคลีออนเหล่านั้นต้องมีระยะห่างจากกันเพียงพอที่จะไม่ทำให้แรงนิวเคลียร์สามารถทำให้อนุภาคเหล่านั้นมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันอีกต่อไป<ref>''Atomic Alchemy: Nuclear Processes'' - "Binding Energy". [http://www.thinkquest.org/pls/html/think.site?p_site_id=17940 About]. Accessed 7 September 2010. http://library.thinkquest.org/17940/texts/binding_energy/binding_energy.html</ref> 'มวลส่วนเกิน' เป็นแนวคิดที่สัมพันธ์กันที่เปรียบเทียบ[[เลขมวล]]ของนิวเคลียสหนึ่งกับมวลที่วัดได้อย่างแท้จริงของมัน<ref>{{cite book
|last=Krane |first=K. S
|year=1987