ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การก่อการกำเริบโดยประชาชน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เปลี่ยนจาก หมวดหมู่:คำศัพท์การเมือง ไปยัง หมวดหมู่:อภิธานศัพท์การเมือง
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
uprising หมายถึง การปฎิวัติ, การกบฎ, การจลาจล, การลุกขึ้น คำว่ากำเริบมาจากไหน
บรรทัด 1:
{{Issues|เพิ่มอ้างอิง=yes|มุมมองสากล=yes}}
'''การก่อการกำเริบการปฏิวัติโดยประชาชน''' ({{lang-en|People's uprising}}) เป็น[[คำศัพท์]]ทาง[[การเมือง]]ที่หมายถึง การลุกขึ้นต่อต้านอำนาจผู้ปกครองหรือภาครัฐอันกระทำโดยประชาชนที่พร้อมใจกันในประเทศใดประเทศหนึ่ง เป็นการต่อต้านในประเด็นที่ต่างกันออกไป เช่น การต่อต้านการสืบทอดอำนาจ การต่อต้านระบอบอำนาจนิยมแบบเบ็ดเสร็จ หรือการต้องการการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็นต้น
 
ในบางครั้ง การก่อการกำเริบการปฏิวัติโดยประชาชนอาจจะพัฒนาไปสู่การเป็นกระบวนการทางการเมืองที่เป็นรูปเป็นร่างเป็นระบบที่มั่นคงขึ้นต่อไปได้ เช่น [[บอลเชวิค|พรรคบอลเซวิค]]ที่เกิดขึ้นหลังการปฏิวัติรัสเซีย เป็นต้น
 
ตัวอย่างของการก่อการกำเริบปฏิวัติโดยประชาชน เช่น [[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] ระหว่างปี [[ค.ศ. 1789]]-[[ค.ศ. 1799]], [[การปฏิวัติรัสเซีย พ.ศ. 2460|การปฏิวัติในรัสเซีย ค.ศ. 1917]], [[เหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู]], [[การก่อการกำเริบปฏิวัติ 8888]], [[การประท้วงต่อต้านรัฐบาลในพม่า พ.ศ. 2550]]
 
ในทาง[[การเมืองไทย]] ปรากฏการณ์การก่อการกำเริบปฏิวัติโดยประชาชนที่ปรากฏเด่นชัดได้แก่ [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500|การประท้วงการเลือกตั้งสกปรก พ.ศ. 2500]], [[เหตุการณ์ 14 ตุลา]] และ[[เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]]
 
== อ้างอิง ==