ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุชนา ชวนิชย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Sarocha.p (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
}}
 
รองศาสตราจารย์ ดร. '''สุชนา ชวนิชย์''' เป็น[[นักวิทยาศาสตร์]]หญิง[[ชาวไทย]] ผู้ซึ่งเป็นนักวิทยาศาสตร์หญิงไทยคนแรกที่ไปศึกษาวิจัยยัง[[ทวีปแอนตาร์กติก]]<ref>แอนตาร์กติก...ดินแดนแห่งน้ำแข็ง สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554. 213 หน้า</ref><ref>Polar Harmony องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2556. 84 หน้า</ref><ref>National Geographic ฉบับภาษาไทย เดือน กุมภาพันธ์ 2558. หน้า 38 – 41</ref> ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล [[คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ทั้งยังเป็นหนึ่งในทีมของนักวิทยาศาสตร์ไทยที่ทำการเพาะขยายพันธุ์[[ปะการัง]]แบบอาศัยเพศสำเร็จเป็นครั้งแรกของประเทศไทย<ref>[http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9560000040042 จุฬาฯ เพาะ “ปะการัง” แบบอาศัยเพศ ได้เป็นครั้งแรก]</ref>
 
== ประวัติ ==
สุชนา ชวนิชย์ จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาจาก[[โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] จากนั้นได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีที่ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล [[คณะวิทยาศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] แล้วจึงเดินทางไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโทที่ Central Connecticut State University และปริญญาเอกที่ University of New Hampshire ประเทศสหรัฐอเมริกา<ref>[http://www.sc.chula.ac.th/hof/53_Res17.html คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]</ref>
 
ผลงานที่โดดเด่น ของ รองศาสตราจารย์ ดร. สุชนา ชวนิชย์ คือ การที่เป็นนักวิทยาศาสตร์หญิงไทยคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วมสำรวจทวีปแอนตาร์กติกร่วมกับคณะสำรวจทวีปแอนตาร์กติกจากประเทศญี่ปุ่น รุ่นที่ 51 (JARE-51)<ref>{{cite web|url=http://www.nationmultimedia.com/2009/10/01/technology/technology_30113600.php|title=First Thai female scientist to join Antarctic research team for climate change study|date=1 ตุลาคม พ.ศ. 2552|accessdate=7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558}}</ref> เพื่อศึกษา[[การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ]]ที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมในปี 2552 นอกจากนี้ ในปี 2557 รองศาสตราจารย์ ดร. สุชนา ชวนิชย์ ยังได้รับโอกาสเป็นครั้งที่สองในการเดินทางไปคาบสมุทรแอนตาร์กติกร่วมกับคณะสำรวจทวีปแอนตาร์กติกของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] รุ่นที่ 30 (CHINARE 30; 30<sup>th</sup> Chinese National Antarctic Research Expedition) ภายใต้โครงการศึกษาวิจัยขั้วโลกตามพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อร่วมศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม<ref>[http://www.princess-it.org/project/s-t/polar/polar-bb.html นักวิจัยไทยในโครงการวิจัยขั้วโลก]</ref> และในครั้งนี้ รองศาสตราจารย์ ดร. สุชนา ชวนิชย์ ได้มีโอกาสดำน้ำแบบลึก (SCUBA diving) ที่ทะเล[[แอนตาร์กติก]] จึงถือได้ว่า รองศาสตราจารย์ ดร. สุชนา ชวนิชย์ เป็นนักวิทยาศาสตร์หญิงไทยคนแรกที่ลงดำน้ำที่ทะเลแอนตาร์กติกอีกด้วย
บรรทัด 25:
* รางวัล “บุคคลที่สร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเอง” จาก สถาบันพัฒนาศักยภาพ ชมรมพัฒนาศักยภาพของมหาวิทยาลัย 6 สถาบัน (ประกอบด้วย[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]] และ[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]) ประจำปี 2558{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}
* รางวัล “Outstanding Scientist Award” จาก UNESCO – IOC/WESTPAC ประจำปี 2557<ref>{{cite web|url=http://iocwestpac.org/news/395.html|title=Five Marine Scientists Awarded WESTPAC Outstanding Scientists 2014|accessdate=7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558}}</ref>
* ได้รับคัดเลือกให้เป็น “1 ใน 100 คน ที่สร้างแรงบันดาลใจให้กับคนไทย” จากการคัดเลือกของ The In Residence ประจำปี 2556<ref>In ResidanceResidence 100 Most Wanted Directory 2013 ISBN 978-616-306-067-9</ref>
* รางวัลทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์ (For Women in Science)” ครั้งที่ 6 สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ โดย บริษัท ลอริอัลลอรีอัล (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับสำนักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ([[UNESCO]]) ประจำปี 2551<ref>{{cite news|url=http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9510000048194 |title=4 นักวิจัยหญิงรับทุนลอรีอัล-ยูเนสโก "เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์" |work=ASTVผู้จัดการออนไลน์ |date=24 เมษายน 2551 |accessdate=7 พฤศจิกายน 2558}}</ref>
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 45:
{{alive}}
[[หมวดหมู่:นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:นักสัตววิทยา]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:นิสิตเก่าคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:นักวิชาการชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:นักสำรวจชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:นักอนุรักษ์ธรรมชาติ]]
[[หมวดหมู่:นักอนุรักษ์ธรรมชาติ]]