ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็มควอเทียร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6217962 สร้างโดย DMS WIKI (พูดคุย)
บรรทัด 14:
'''ศูนย์การค้าเอ็มควอเทียร์''' <!--ชื่อทางการ เอ็มควอเทียร์, ไม่มี The--> ({{lang-en|EmQuartier}}) เป็น[[ศูนย์การค้า]]แห่งที่สองในกลุ่ม[[ดิ เอ็มดิสทริค]] ซึ่งประกอบไปด้วยศูนย์การค้า โรงภาพยนตร์ และอาคารสำนักงาน บริหารงานโดย บริษัท ซิตี้มอลล์ กรุ๊ป จำกัด ใน[[กลุ่มเดอะมอลล์]] และ บริษัท ภิรัชบุรี จำกัด ในลักษณะของการร่วมทุน ตั้งอยู่ริม[[ถนนสุขุมวิท]] ฝั่งตรงข้ามกับอาคารศูนย์การค้าเอ็มโพเรียมเดิมในพื้นที่ แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เน้นความสำคัญกับตลาดลูกค้าชาวต่างชาติ และลูกค้าระดับกลางถึงสูง เช่นเดียวกับ[[สยามพารากอน]]
 
== การจัดสรรพื้นที่ออกแบบ ==
[[ไฟล์:Emquartier 1-4-2015.JPG|thumb|อาคารเฮลิกส์ควอเทียร์ อาคารกลาสควอเทียร์ และลานควอเทียร์ปาร์ค]]
พื้นที่โครงการเอ็มควอเทียร์จะประกอบไปด้วยอาคารศูนย์การค้าทั้งหมดสามอาคาร ได้แก่ ฮีลิกส์ควอเทียร์ กลาสควอเทียร์ และวอเตอร์ฟอลควอเทียร์ โดยมีพื้นที่สำคัญดังนี้
 
* ห้างสรรพสินค้าเอ็มควอเทียร์
** คิว สเตเดียม
** คิวเรเตอร์
** อนาเธอร์ สตอรี
* กูร์เมต์ มาร์เกต และควอเทียร์ ฟู๊ดฮอลล์
* โรงภาพยนตร์[[ควอเทียร์ ซีเนอาร์ต]] ในเครือ[[เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ กรุ๊ป]] จำนวน 8 โรงภาพยนตร์
* สวนลอยฟ้า ควอเทียร์ วอเตอร์ การ์เดน โดย [[ธนาคารกสิกรไทย]]
* ควอเทียร์ ฟอล
* อาคารสำนักงานภิรัช ทาวเวอร์ แอท เอ็มควอเทียร์
นอกจากนี้ยังมีพื้นที่สำหรับจัดกิจกรรมภายในศูนย์การค้า ได้แก่ ควอเทียร์อเวนิว ควอเทียร์ปาร์ค ควอเทียร์แกลเลอรี ควอเทียร์ฮอลล์ และคิว สเปซ
<!--
* '''อาคารฮีลิกส์ควอเทียร์ (The Helix Quartier) ''' หรืออาคาร A (ด้านหน้าฝั่งซอยสุขุมวิท 35) เป็นอาคารที่ตั้งของร้านค้าระดับลักชัวรี่ ร้านค้าสินค้าไอที ร้านค้าบริการ และสถาบันความงามตั้งแต่ชั้น G-4 ส่วนชั้น 5 จะเป็นที่ตั้งของสวนลอยฟ้า ควอเทียร์ วอเตอร์ การ์เดน โดย [[ธนาคารกสิกรไทย]] ซึ่งเป็นจุดเด่นของอาคาร และตั้งแต่ชั้นนี้เป็นต้นไป ลักษณะทางเดินของอาคารจะเป็นแบบเกลียว โดยที่ผู้มาใช้บริการสามารถเดินขึ้นจากชั้นสวนลอยฟ้าไปจนถึงชั้นบนสุดได้โดยการเดินวนรอบไปตามทางลาด ซึ่งตลอดทางลาดจะเป็นร้านอาหารตลอดทาง ชั้นใต้ดินของอาคารนี้เป็นที่ตั้งของลานจอดรถอัตโนมัติพร้อมห้องรับรอง โดยเอ็มควอเทียร์จะเป็นศูนย์การค้าแห่งแรกในประเทศไทยที่นำระบบจอดรถอัตโนมัติมาใช้งาน การตกแต่งภายในใช้สีขาวทองแบบเดียวกับเอ็มโพเรียม
 
เส้น 35 ⟶ 25:
 
ซึ่งอาคารศูนย์การค้าทั้งสามอาคารจะมีสะพานเชื่อมถึงกัน และชั้นเอ็มยังมีทางเชื่อมไปยัง[[สถานีพร้อมพงษ์|เอ็มดิสทริค สเตชัน]] และอาคาร[[เอ็มโพเรียม]] นอกจากนี้ทางเดินระหว่างอาคารที่ชั้น G จะตกแต่งให้เป็นแนวธรรมชาติตลอดทางคั่นกลางด้วยทางไหลของน้ำจากควอเทียร์ฟอล เสมือนว่าเป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างศูนย์การค้ากับอาคารสำนักงาน
 
-->
==รางวัลที่ได้รับ==