ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุขาวดี (นิกาย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 25:
 
== สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของนิกายสุขาวดี ==
{{multiple image
| align = center
| direction = horizontal
| header =
| header_align = left/right/center
| footer = พระอริยเจ้าทั้งสามแห่งปัจฉิมทิศ (西方三聖)
| footer_align = center
| image1 = Mahasthamaprapta.jpg
| width1 = 193
[[ไฟล์:Mahasthamaprapta.jpg|thumb|150px| caption1 = [[พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์]]]]
| image2 = Amitabha.png
| width2 = 250
| caption2 = [[พระอมิตาภพุทธะ]]
| image3 = Guan Yin of the South Sea of Sanya.JPG
| width3 = 219
| caption3 = [[พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์]]
}}
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของนิกายสุขาวดีโดยทั่วไปจะประกอบด้วย[[พระอมิตาภพุทธะ]] [[พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์]] และ[[พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์]] ([[กวนอิม]]) โดยให้พระอมิตาภพุทธะประทับอยู่ตรงกลาง พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ อยู่ทางขวาของพระองค์ และพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ อยู่ทางซ้ายของพระองค์ ด้วยเหตุฉะนี้ พุทธศาสนิกชนมหายานจึงนิยมเรียกพระพุทธะและโพธิสัตว์สาวกกลุ่มนี้ว่า '''พระอริเจ้าทั้งสามแห่งปัจฉิมทิศ''' ({{zh-all|t=西方三聖|s=西方三圣|p=Xīfāngsānshèng}})
=== พระอมิตาภพุทธะ ===
[[ไฟล์:Amitabha.png|thumb|150px|[[พระอมิตาภพุทธเจ้า]]]]
'''[[พระอมิตาภพุทธะ]]''' แปลว่า [[พระพุทธเจ้า]]ผู้มีแสงประภาสส่องสว่างไม่มีประมาณ หรือพระอมิตายุพุทธะ แปลว่า พระผู้มีอายุขัยยาวนานไม่มีประมาณ เป็น[[พระธยานิพุทธะ]] 1 ใน 5 องค์ ประทับอยู่ทางตะวันตกของพุทธมณฑล พระกายสีแดงก่ำ เป็นต้นตระกูลของพระโพธิสัตว์ตระกูลปัทมะ หมายถึงปัญญาที่ทำให้มนุษย์รู้จักผิดชอบชั่วดี และเลือกปฏิบัติในทางที่ถูก สัญญลักษณ์คือดอกบัว พระพุทธเจ้าในตระกูลนี้ทั่วไปใช้บัวแดง พระโพธิสัตว์ปางดุใช้บัวขาว ภาพวาดของพระองค์มักวาดให้พระหัตถ์ยาวหมายถึงความสามารถที่จะเอื้อมพาสรรพสัตว์เข้าสู่แดน[[สุขาวดี]] มีพระชิวหายาวตระหวัดได้รอบโลกหมายถึงความสามารถในการแสดงธรรมได้ทั่วโลก ทรงนกยูงเป็นพาหนะนับถือส่วนใหญ่ในพุทธศาสนานิกายมหายาน ควบคู่กับพระอวโลกิเตศวรหรือเจ้าแม่กวนอิมในภาษาไทย
 
เส้น 32 ⟶ 49:
 
=== พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ ===
[[ไฟล์:Mahasthamaprapta.jpg|thumb|150px|[[พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์]]]]
'''[[พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์]]'''เป็น[[พระโพธิสัตว์]]อัครสาวกของพระอมิตาภะเช่นเดียวกับพระอวโลกิเตศวร แต่มีคนรู้จักน้อยกว่า ถือว่าท่านเป็นพระโพธิสัตว์ด้านกำลัง สะท้อนพลังจิตที่เข้มแข็งของพระพุทธเจ้า ใกล้เคียงกับความหมายของ[[พระสมันตภัทรโพธิสัตว์]]
 
เส้น 38 ⟶ 54:
 
=== พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ([[เจ้าแม่กวนอิม]]) ===
[[ไฟล์:Guan Yin of the South Sea of Sanya.JPG|thumb|150px|[[เจ้าแม่กวนอิม]]]]
'''กวนอิม''' ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ กวนอิน ตามสำเนียงกลาง (จีน: 觀音; พินอิน: Guān Yīn; อังกฤษ: Guan Yin) [[พระโพธิสัตว์]] ของ[[พระพุทธศาสนา]]ฝ่าย[[มหายาน]] เป็นองค์เดียวกันกับ[[พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์]]ในภาษาสันสกฤต ซึ่งมีต้นกำเนิดจากพระสูตรมหายานในอินเดีย และได้ผสมผสานกับตำนานเรื่องพระธิดาเมี่ยวซ่าน ซึ่งเป็นความเชื่อพื้นถิ่นดั้งเดิมของจีนจนก่อให้เกิดเป็นพระโพธิสัตว์กวนอิมในภาคสตรีขึ้น เพื่อแสดงออกถึงความอ่อนโยน และแสดงถึงความเมตตากรุณาให้เด่นชัดยิ่งขึ้นดังเช่นความรักของมารดาที่มีต่อบุตร ซึ่งเป็นการผสมผสานกลมกลืนทางความเชื่อที่ปราศจากข้อขัดแย้ง เนื่องจากในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรได้อธิบายว่า พระอวโลกิเตศวรนั้นสามารถแบ่งภาคเพื่อโปรดสรรพสัตว์ได้มากมายทั้งปางบุรุษและสตรี และเป็นธรรมดาของพระโพธิสัตว์มหายานที่เมื่อเข้าไปสู่ดินแดนอื่นทั้งทิเบต จีน หรือญี่ปุ่น ย่อมผสมผสานกลมกลืนได้กับเทพท้องถิ่นนั้น ๆ