ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟูกูชิมะแห่งที่หนึ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
โรงไฟฟ้าประกอบด้วยเครื่องปฏิกรณ์แบบน้ำเดือด ({{lang-en|[[boiling water reactor]]}}) 6 เครื่องแยกจากกัน ซึ่งแต่เดิมได้รับการออกแบบโดยบริษัท General Electric (GE) และได้รับการบำรุงรักษาโดยบริษัท Tokyo Electric Power Company (TEPCO) ขณะที่เกิดแผ่นดินไหวขึ้นนั้น เครื่องปฏิกรณ์ที่ 4 5 และ 6 ถูกดับเครื่อง ({{lang-en|shut down}}) เพื่อเตรียมการเติมเชื้อเพลิง<ref>{{Cite news|author=Black, Richard |url=http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-12745186 |title= Reactor breach worsens prospects |work=BBC Online |date=15 March 2011 |accessdate=23 March 2011}}</ref> อย่างไรก็ตาม บ่อเชื้อเพลิงใช้แล้ว ({{lang-en|spent fuel pools}}) ของเครื่องปฏิกรณ์เหล่านั้นยังต้องการหล่อเย็น<ref name="web.archive.org">[https://web.archive.org/web/20110607091828/http://www.iaea.org/press/?p=1463 IAEA press release Japanese Earthquake Update (19 March 2011, 4:30 UTC) 19 March 2011. Archive.org]</ref> ทันทีหลังจากการเกิดแผ่นดินไหว ไฟฟ้าที่ผลิตจากเครื่องปฏิกรณ์ที่ 1, 2 และ 3 เริ่มกระบวนการชัตดาวน์[[การแบ่งแยกนิวเคลียส|ปฏิกิริยาฟิชชั่น]]ที่ยั่งยืนของพวกมันโดยอัตโนมัติ โดยการสอดใส่แท่งควบคุม ({{lang-en|control rods}}) ตามขั้นตอนที่เรียกว่า SCRAM (Safety Control Rods Activator Mechanism (SCRAM))) ขบวนการนี้เป็น "การปลอดภัยไว้ก่อน" ที่ได้รับฉันทานุมัติตามกฎหมายซึ่งจะหยุด ''สภาวะการทำงานปกติ'' ของเครืองปฏิกรณ์ หลังจากนั้น เครื่องปฏิกรณ์จะไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อขับปั้มสารหล่อเย็นของตัวมันเอง เครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินจะเริ่มผลิตพลังงานไฟฟ้าตามที่ออกแบบไว้เพื่อจ่ายให้ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส์และสารหล่อเย็น ทุกระบบทำงานได้ดีจนกระทั่งคลื่นสึนามิทำลายเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำหรับเครื่องปฏิกรณ์ตัวที่ 1 ถึง 5 เนื่องจากตำแหน่งที่ตั้งของมันอยู่บนพื้นที่ต่ำและไม่ได้ถูกบดจนแข็ง เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 2 ตัวที่ระบายความร้อนให้กับเครื่องปฏิกรณ์ตัวที่ 6 ไม่ได้รับความเสียหายและมีความสามารถเพียงพอที่จะได้รับความกดดันให้ทำงานหล่อเย็นเครื่องปฏิกรณ์ตัวที่ 5 ที่อยู่ใกล้เคียงได้อีกด้วย ซึ่งเป็นการหันเหปัญหาความร้อนสูงเกินที่เครื่องปฏิกรณ์ตัวที่ 4 ที่กำลังทนทุกข์ทรมานอยู่<ref name="web.archive.org"/>
 
คลื่นสีนามิที่ใญ่ที่สุดมาถึงราว 50 นาที่หลังจากแผ่นดินไหวครั้งแรก ความสูงขนาด 13 ม. ของมันผ่าน[[กำแพงกันคลื่น]]ที่สูงเพียง 10 ม.เท่านั้น<ref name=":18" /> ชั่วขณะที่เข้ากระทบถูกจับภาพไว้ได้ด้วยกล้อง<ref>{{cite web|url=http://www.iaea.org/NuclearPower/Downloadable/Meetings/2012/2012-03-19-03-23-TM-NPTD/12_TM-Safety-Dresden_Germany_Maschek-Rineiski.pdf |title=Recriticality, a Key Phenomenon to Investigate in Core Disruptive Accident Scenarios of Current and Future Fast Reactor Designs |publisher=[[IAEA]] & Institute for Nuclear and Energy Technologies (IKET) |author=W. Maschek, A. Rineiski, M. Flad, V. Kriventsev, F. Gabrielli, K. Morita}} Note: See picture in the upper left corner of page 2.</ref> น้ำเข้าท่วมห้องเก็บเครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินที่อยู่ต่ำอย่างรวดเร็ว<ref name="spectrum.ieee.org">[http://spectrum.ieee.org/energy/nuclear/24-hours-at-fukushima/0 24 Hours at Fukushima A blow-by-blow account of the worst nuclear accident since Chernobyl By Eliza Strickland Posted 31 Oct 2011]</ref> เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซลไม่นานก็หยุดทำงาน ตัดพลังงานไฟฟ้าที่จ่ายให้กับปั้มน้ำที่สำคัญที่ใช้หมุนเวียนน้ำหล่อเย็นต่อเนื่องให้กับเครื่องปฏิกรณ์แบบ Generation II เป็นเวลาหลาย ๆ วันเพื่อป้องกันไม่ให้แท่งเชื้อเพลิง ({{lang-en|fuel rods}}) หลอมละลายหลังการ SCRAM เนื่องจากแผ่นรองเชื้อเพลิงเซรามิกจะยังคงผลิตความร้อนจาก[[การสลายตัวกัมมันตรังสี]] ({{lang-en|decay heat}}) ต่อไปแม้ว่าหลังจากขบวนการฟิชชั่นได้สิ้นสุดลงแล้ว แท่งเชื้อเพลิงจะร้อนมากพอที่จะหลอมละลายตัวมันเองในระหว่างช่วงเวลาการสลายตัวของเชื้อเพลิงถ้าไม่มี cold sink ที่พอเพียง หลังจากปั้มฉุกเฉินที่สอง (ทำงานโดยไฟฟ้าจากแบตเตอรีแบ็กอัพ) ไฟหมดหนึ่งวันหลังจากคลื่นสึนามิ(12 มีนาคม)<ref name="oecd-nea.org">{{cite web |url=http://www.oecd-nea.org/press/2011/NEWS-04.html |title=OECD Timeline for the Fukushima Daiichi nuclear power plant accident.}}</ref> ปั้มน้ำทั้งหมดก็หยุดและเครื่องปฏิกรณ์ทั้งหลายเริ่มที่จะโอเวอร์ฮีทเนื่องจาก decay heat ที่ผลิตในช่วงวันแรก ๆ หลังการ SCRAM (ปริมาณที่ลดน้อยลงของ decay heat นี้จะถูกปลดปล่อยออกมาอย่างต่อเนื่องหลายปี แต่มีเวลาไม่มากพอสำหรับการระบายความร้อนด้วยน้ำเพื่อป้องกันไม่ให้แกนเชื้อเพลิงหลอมละลาย)
 
ในขณะที่คนงานกำลังดิ้นรนเพื่อจ่ายพลังงานให้กับระบบหล่อเย็นของเครื่องปฏิกรณ์และคืนพลังงานไฟฟ้าให้กับห้องควบคุม การระเบิดทางเคมีระหว่างไฮโดรเจนกับอากาศ ({{lang-en|hydrogen-air chemical explosion}}) ก็เกิดขึ้นหลายครั้ง ครั้งแรกเกิดในเครื่องปฏิกรณ์หมายเลข 1 ในวันที่ 12 มีนาคม ครั้งสุดท้ายเกิดในเครื่องปฏิกรณ์หมายเลข 4 ในวันที่ 15 มีนาคม<ref name="oecd-nea.org"/><ref name="IAEA15March"/><ref>[http://www.hyer.eu/news/regional-news/hydrogen-in-nuclear-accidents-what-is-the-role-of-the-gas-in-fukushima Hydrogen explosions Fukushima nuclear plant: what happened?]</ref> มีการประมาณการว่าปฏิกิริยาของน้ำกับปลอกเชื้อเพลิงเวอร์โคเนียม ({{lang-en|zirconium fuel cladding-water reaction}}) ที่ร้อนในเครื่องปฏิกรณ์ 1 ถึง 3 แต่ละตัวได้สร้างก๊าซไฮโดรเจน 800 ถึง 1000 กก.ที่ถูกระบายออกากอ่างความดันของเครื่องปฏิกรณ์ ({{lang-en|reactor pressure vessel}}) ผสมเข้ากับบรรยากาศแวดล้อม จนในที่สุดเข้าสู่ขีดจำกัดความเข้มข้นการระเบิด ({{lang-en|explosive concentration limit}}) ในหน่วยที่ 1 และหน่วยที่ 3 และเนื่องจากการเชื่อมต่อระหว่างหน่วยที่ 3 และ 4 เป็นแบบท่อ หรืออีกทางหนึ่งคือเกิดจากปฏิกิริยาเดียวกันกับที่เกิดขึ้นในบ่อเชื้อเพลิงใช้แล้วในหน่วยที่ 4 เอง<ref>{{cite web |url=http://info.ornl.gov/sites/publications/Files/Pub33574.pdf |title= MELCOR Model of the Spent Fuel Pool of Fukushima Dai-ichi Unit 4 |publisher=[[Oak Ridge National Laboratory]].}}</ref> หน่วยที่ 4 ก็เต็มไปด้วยไฮโดรเจนที่มีการระเบิดแบบไฮโดรเจนกับอากาศเกิดขึ้นที่ยอดของแต่ละหน่วยที่อยู่ในชั้นบนของอาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์ ({{lang-en|containment building}})หลังที่สอง<ref>[http://www.fas.org/sgp/crs/nuke/R41694.pdf page 6]</ref><ref>http://eetd-seminars.lbl.gov/sites/eetd-seminars.lbl.gov/files/Fukushima1_Technical_Perspective_LBL_EEDT_04052011-1.pdf ''What happened at Fukushima a Technical Perspective.'' [[Nuclear Regulatory Commission]] page 11, 26, 29.</ref> ยานไร้คนบังคับ (Drone) ที่บินเหนือที่เกิดเหตุในวันที่ 20 มีนาคม ได้จับภาพอย่างชัดเจนของผลกระทบจากการระเบิดแต่ละครั้งที่อยู่นอกโครงสร้าง ในขณะที่ภาพด้านในถูกบดบังด้วยเงาและเศษซาก<ref name="Aerial photos by Air Photo Service Co. Ltd., Japan">