ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รอม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เอาก่อกวนออก
บรรทัด 12:
หน่วยความจำประเภท ROM นี้ยังแบ่งออกเป็นประเภทย่อยๆ ตามลักษณะการใช้งานได้หลายประเภท สำหรับเทคโนโลยีในการผลิตตัวไอซีที่ทำหน้าที่เป็น ROM มีทั้งแบบ MOS และแบบไบโพลาร์ ดังแผนภาพ
 
== ชนิดของ ROM ==ไข่ค่ะ
 
== การอ่านขนาดความจุจาก Data Sheet ==
[[ไฟล์:oam2.jpg|right]]
รักนะค่ะะะะ
 
== การอ่านข้อมูลจาก ROM ==
 
ไอตูดเหม็น
# CPU จะส่งแอดเดรสไปให้ ROM แอดเดรสดังกล่าวจะปรากฏ เป็นแอดเดรสที่ต้องการอ่าน ใน ROMโดยข้อมูลจะถูกอ่านออกมาเพียงครั้งละ 1 ไบต์เท่านั้น
# CPU จะต้องให้ช่วงเวลาของการส่งแอดเดรสยาวนานพอประมาณ ( Wait State ) เรียกว่า Access Time โดยปกติแล้วจะต้องใช้เวลาประมาณ 100 - 300 นาโนวินาที ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของ ROM ซึ่ง ROM จะใช้เวลานั้นในการถอดรหัสแอดเดรส ของข้อมูลที่ต้องการจะอ่านออกมาที่เอาต์พุตของ ROM ซึ่งถ้าใช้เวลาเร็วกว่านั้น ROM จะตอบสนองไม่ทัน
# CPU จะส่งสัญญาณไปทำการเลือก ROM เรียกว่า สัญญาณ CS (Chip Select) เพื่อบอกว่าต้องการเลือก ROM ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณเพื่อยืนยันการเลือกชิปนั่นเอง
# ข้อมูลจะผ่านออกทางขาข้อมูลชั่วขณะจังหวะการเลือกชิป และเมื่อขาการเลือกชิปไม่แอคทีฟ ข้อมูลก็จะเข้าสู่ภาวะที่มีอิมพีแดนซ์สูง
 
[[หมวดหมู่:หน่วยความจำคอมพิวเตอร์]]
[[หมวดหมู่:หน่วยความจำถาวร]]
[[หมวดหมู่:อิเล็กทรอนิกส์]]
[[หมวดหมู่:วิศวกรรมไฟฟ้า]]
{{โครงคอมพิวเตอร์}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/รอม"