ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มลภาวะทางแสง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rakmith Thitiya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''มลภาวะทางแสง''' ({{lang-en|Light Pollution}}) หมายถึง [[แสง]]ประดิษฐ์ที่เกิดจากการกระทำกิจวัตรของมนุษย์ในเวลากลางคืน รวมถึงมลภาวะของแสงที่สว่างจ่าจนเกินความจำเป็นหรือแสงประดิษฐ์ที่ใช้ผิดวัตถุประสงค์ด้วย ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น สุนัข แมว นก สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์อื่นๆอีกมากมาย โดยที่สำคัญยังส่ง[[ผลกระทบสิ่งแวดล้อม]]และต่อกิจกรรมดาราศาสตร์ของนักดาราศาสตร์ด้วย และการออกแบบหลอดไฟประดิษฐ์ที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมโดยที่สำคัญยังส่งผลกระทบต่อกิจกรรมดาราศาสตร์ของนักดาราศาสตร์ด้วย และการออกแบบหลอดไฟประดิษฐ์ที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมหรือการติดตั้งหลอดไฟฟ้าที่ไม่ได้มาตรฐาน ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม<ref>http://www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/viewFile/28085/24133</ref>หรือการติดตั้งหลอดไฟฟ้าที่ไม่ได้มาตรฐาน ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
== ประเภท ==
บรรทัด 19:
 
4. มลภาวะทางแสงที่เกี่ยวข้องกับการก่ออาชญากรรม หลอดไฟที่ส่องสว่างตามถนน (Street Light) และหลอดไฟที่ให้ความปลอดภัย (Security Light) เพื่อประโยชน์แก่ผู้สัญจรทางเท้าให้มีความปลอดภัยในการมองเห็นในเวลากลางคืนได้อย่างชัดเจน และช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุการสัญจรบนถนน รวมถึงความปลอดภัยจากอาชญากรรมจากการเดินทางบนถนนมากยิ่งขึ้น แสงสว่างจ้า (glare) ที่ส่องมาเข้าดวงตาของแกนนำการชุมนุมหรือประชาชนที่เข้าร่วมชุมนุมโดยตรง การใช้เทคโนโลยีแสงสว่างหรือไฟส่องสว่างในบริเวณพื้นที่ชุมนุมที่มีทิศทางส่องรุกล้ำไปยังที่อยู่อาศัยหรือพื้นที่ส่วนตัวของประชาชนที่อยู่อาศัยโดยรอบ (trespassing lights) รวมไปถึงการส่องแสงสว่างจากการออกแบบหรือติดตั้งหลอดไฟฟ้าหรือโคมไฟในบริเวณพื้นที่ที่มีการชุมนุมทางการเมืองในลักษณะที่ไม่เหมาะสม จนทำให้เกิดทิศทางของแสงส่องเรืองขึ้นไปยังท้องฟ้าในเวลากลางคืน (sky glow) ซึ่งไม่เพียงจะทำให้เป็นการสิ้นเปลืองพลังงานโดยใช้เหตุแล้ว แสงส่องเรืองขึ้นไปยังท้องฟ้าในเวลากลางคืนยังอาจทำลายธรรมชาติและความมืดมิดในยามค่ำคืนในบริเวณโดยรอบพื้นที่<ref>http://www.prachatai.com/journal/2013/11/49783</ref>
 
== การป้องกัน ==
การจะมีประสิทธิภาพอย่างแท้จริงกับมลพิษทางแสงแรกควรจะควบคุมที่แหล่งกำเนิด อาคารในเมืองควรจะมีการฝึกอบรมกลุ่มของการออกแบบมืออาชีพและหมวดการวางแผนเพื่อสร้างการวางแผนแสงครอบคลุมเมืองโดยรวมของ[[ระบบนิเวศ]]การออกแบบเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแสงไฟยามค่ำคืน , พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์และเหตุผลความสว่างกระจายการปรับปรุงการก่อสร้างที่สอดคล้องกับ[[นิเวศวิทยา]] ข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมของสภาพแวดล้อม "ไฟเขียว" นักออกแบบในการสร้างการพิจารณาการทำงานและความงาม แต่ยังควรให้ความสนใจมากขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงการ "มลพิษทางแสง" นอกเหนือไปจากถนนคนเดินเชิงพาณิชย์แหล่งกำเนิดแสงสีสามารถนำมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพการส่องสว่างสูง, อุปกรณ์มีอายุยาวแสงอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเมืองแสงไฟทั่วไปควรจะมีผลต่อการประหยัดพลังงานได้อย่างน่าทึ่ง, มลพิษทางแสง, ผลิตภัณฑ์แสงสว่างสีเขียว
ประการที่สอง คือ ป้ายโฆษณาและป้ายนีออนควรจะมีการควบคุมและการจัดการทางวิทยาศาสตร์รอบอาคารและความบันเทิงเพื่อให้ต้นไม้เจริญเติบโตดอกหญ้าและน้ำเพิ่มเพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมแสง; ความสนใจไปที่การลดใช้พลังงานแสงที่แข็งแกร่งและอื่น ๆ มุ่งมั่นเพื่อให้ภูมิทัศน์ธรรมชาติในเมืองที่มีความสามัคคีเพื่อให้ผู้คนสามารถมีชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เงียบสงบความสะดวกสบายปลอดภัยปลอดมลภาวะปราศจากมลภาวะและสวยงาม<ref>http://th.swewe.net/word_show.htm/?318039_1&%E0%B8%A1%E</ref> แต่หากแบ่งการป้องกันออกเป็นแสงต่างๆ จะได้ดังนี้
* '''แสงยูวีจากแสงแดด'''
1. สามารถปกป้องผิวหนังจากแสงแดดด้วยการใช้ครีมกันแดด
 
2. ใส่เสื้อผ้าที่ปกปิดร่างกาย ใส่หมวก เมื่อต้องพบเจอแสงแดด
 
3. สามารถปกป้องดวงตาซึ่งเป็นอวัยวะที่บอบบางให้ปลอดภัย ได้โดยดวงตาของเราจึงถูกสร้างให้ถูกห่อหุ้มด้วยกระดูกเบ้าตา มีเปลือกตา ขนคิ้วและขนตาเป็นเกราะป้องกันอีกชั้นหนึ่ง นอกจากนี้การหดแคบลงของรูม่านตา การหลับตาหรือการหรี่ตา ก็เป็นอีกกลไกหนึ่งที่ช่วยปกป้องดวงตาตามธรรมชาติเมื่อถูกกระตุ้นด้วยแสงที่สามารถมองเห็นด้วยตา แต่จะไม่ถูกกระต้นด้วยรังสียูวี ดังนั้น แม้ในวันที่ไม่มีแสงแดดจ้า เราจะยังคงได้รับรังสียูวีในปริมาณมากอยู่ กล่าวคือ ประสิทธิภาพของกลไกป้องกันดวงตาตามธรรมชาติจึงอาจมีข้อจำกัด
 
4. ป้องกันดวงตาด้วยการใส่แว่นกันแดดเพื่อป้องกันรังสีจากแสงแดดที่สามารถเป็นอันตรายต่อตาได้
* '''รังสียูวี จากเครื่องถ่ายเอกสาร'''
คนที่ทำงานกับเครื่องถ่ายเอกสารทุกวัน หรือคนที่ต้องนั่งใกล้เครื่องถ่ายเอกสาร มีโอกาสเสี่ยงที่จะได้รับรังสีอุลตร้าไวโอเลต ซึ่งเป็นแสงที่ออกจากหลอดฟลูออเรสเซนท์ที่อยู่ในเครื่องถ่ายเอกสารโดยส่วนใหญ่ หลอดที่ใช้ในเครื่องถ่ายเอกสารเป็นหลอดฟลูออเรสเซนท์ที่มีส่วนประกอบของ metal halide หรือ quarts แสงที่ออกมาจากเครื่องถ่ายเอกสารเป็นแสงอุลตร้าไวโอเลตซึ่งหากสัมผัสกับดวงตา
โดยตรงจะทำให้เกิดการระคายเคืองตา ปวดตา ปวดแสบตา และมีอาการปวดศรีษะได้ นอกจากนี้ความร้อนจากเครื่องถ่ายเอกสารยังสามารถทำให้เกิดฝ้า กระได้ด้วย การป้องกัน ดังนี้
 
1. ทุกครั้งที่ถ่ายเอกสารจะต้องปิดแผ่นปิด cover ทุกครั้งเพื่อป้องกันแสงที่จะสัมผัสกับเราโดยตรง
 
2. สามารถป้องกันไอระเหยจากหมึกที่ทำให้ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ เกิดอาการไอ จาม ปวดศรีษะ วิงเวียน ระคายเคืองตาได้อีกด้วย จึงควรตั้งเครื่องถ่ายเอกสารในที่ๆมีการระบายอากาศที่ดี
* '''รังสียูวีจากหลอดไฟชนิดต่างๆ'''
ปกติแล้วหลอดไฟทั่วไปนิยมใช้กันนั้นมักจะเป็นหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์และหลอดไส้ทังสเตนซึ่งมีความปลอดภัยกับคนเรา เพราะจะปล่อยรังสียูวีเอและยูวีบีในระดับที่ปลอดภัย หากอย่างไรก็ตาม ถ้าคุณต้องนั่งอยู่ในจุดที่ใกล้กับตำแหน่งของแสงไฟกระทบหรือแม้แต่นั่งทำหน้าอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ที่ค่อนข้างปล่อยแสงสว่างออกมามากเป็นประจำทุกวัน ก็ย่อมถูกกระตุ้นให้กระบวนการสร้างเม็ดสีเมลานินบนผิวหนังมีปริมาณเข้มขึ้นมากขึ้นได้ จนกระทั่งเปลี่ยนเป็นสีคล้ำและกลายเป็นฝ้า กระ จุดด่างดำรวมถึงริ้วรอยเหี่ยวย่นจนก่อให้หนุ่มสาวออฟฟิศหลายคนดูมีสภาพผิวหน้าและผิวกายที่ค่อนข้างหยาบ หมองคล้ำและแลดูแก่ก่อนวัยได้นั่นเอง<ref>http://women.sanook.com</ref> การป้องกัน คือ
 
1. ปรับระดับความสว่างของหลอดไฟให้พอดี
 
2. ทาครีมกันแดดที่มีค่า SPF 50 ขึ้นไปเป็นประจำทุกวัน เพื่อปกป้องผิวสวยๆ ของคุณไม่ให้เสียหรือมีริ้วรอยต่างๆ ก่อนวัยอันควร
 
3. ไม่ควรอยู่ใกล้หลอดไฟเป็นเวลานานเกินไป ระยะที่ไม่ควรเข้าไปใกล้ไปมากกว่า 1 เมตร
* '''รังสียูวีจากจอโทรทัศน์'''
[[โทรทัศน์]]สามารถส่ง ผลกระทบต่อสุขภาพได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ผลกระทบในที่นี้ไม่ได้หมายถึงผลกระทบจากสื่อหรือเนื้อหาทางโทรทัศน์แต่เป็น ผลกระทบจากแสงหรือการมองทีวีนานๆ ซึ่งช่วงวัยที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ วัยเด็ก ยิ่งอายุน้อยก็ยิ่งมีความเสี่ยงมาก ผลกระทบจากโทรทัศน์ต่อสุขภาพก็อย่างเช่น เป็นปัจจัยกระตุ้นโรคลมชัก,ทำให้สมาธิสั้น,โรคอ้วนและโคเลสเตอรอลในเลือดสูงจากการกินขนมระหว่างดูทีวี โดยเฉพาะในเรื่องของสายตาและระบบประสาท<ref>http://www.hiso.or.th</ref> การป้องกันคือ
 
1. ไม่ควรดูโทรทัศน์เป็นเวลานานเกินไป
 
2. ควรหากิจกรรมอย่างอื่นทำแทน เช่น การอ่านหนังสือหรือเล่นกีฬา
* '''รังสียูวีจากจอคอมพิวเตอร์และจอโทรศัพท์'''
จอ[[คอมพิวเตอร์]]และจอ[[โทรศัพท์]]ก็มี รังสียูวี ออกมาเช่นกัน แต่โดยทั่วไปแล้วผู้ผลิตก็จะควบคุมการผลิตให้อยู่ในระดับที่ปลอดภัย แต่หากเราใช้คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์ อย่างผิดวิธี เช่น เล่นโทรศัพท์ในที่มืด ปิดไฟดูโทรทัศน์ ล้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงที่จะได้รับรังสีเพิ่มมากขึ้น คนที่มีพฤติกรรมการใช้คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต ติดต่อกันเป็นเวลานานๆ จะทำให้ตาแห้งและกะพริบตาน้อยลง เกิดการแสบตา การมองเห็นเริ่มผิดปกติ เห็นภาพซ้อน มองไม่ชัด ปวดเบ้าตา กล้ามเนื้อตาอ่อนล้า เป็นอาการเริ่มต้นของโรคคอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรมและเป็นการกระตุ้นให้จอประสาทตาเสื่อมเร็วขึ้นด้วย
 
1. ควรเปิดไฟคอมพิวเตอร์หรือใช้โทรศัพท์ ปรับไฟหน้าจอให้เหมาะสม
 
2. ไม่ใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานเกินไป ควรพักสายตาด้วยการมองไปที่อื่นบ้าง ก็จะทำให้หายเมื่อยตาได้
 
3. ใช้แผ่นกรองรังสีติดไว้ที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งพอจะช่วยลดการกระจายรังสีจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะลดการกระจายรังสีได้มากหรือน้อยนั้น ขึ้นอยู่กับคุณภาพของแผ่นกรองรังสี
 
4. ควรหลีกเลี่ยงการนั่งทำงานอยู่ใกล้ด้านข้าง และด้านหลังคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานมากๆ ทั้งนี้เพื่อป้องกันรังสี UVA และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ขณะเดียวกันก็ควรนั่งห่างจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ประมาณ 24 นิ้ว หรือราว 2 ฟุต และควรห่างจากด้านข้าง และด้านหลังจอมากกว่า 30 นิ้ว
 
5. ปรับค่าแสงสว่างหน้าจอคอมพิวเตอร์ Darkness หรือ Brightness ให้เป็น 0 จะช่วยลดแสงที่ทำให้ผิวคล้ำผิวเสียได้ถึง 80% เชียวนะคะ เพราะแสงที่สว่างเกินไป สามารถทำลายเส้นประสาทภายในดวงตา และทำลายเซลล์ผิว
 
6. ปลูกต้นไม้ดูดซับรังสี ต้นกระบองเพชรสามารถช่วยลดปริมาณรังสีจากคอมพิวเตอร์ได้ซึ่งได้ข้อมูลมาจากบทความเกี่ยวกับความเจ็บป่วยจากจอคอมพิวเตอร์ของโรเจอร์ได้อ้างถึงผลวิจัยของสถาบัน Recherches en Geobiologie ของสวิตเซอร์แลนด์ นอกจานี้ต้นกระบองเพชรมีขนาดต้นที่เล็กและกระทัดลัดทำให้ดูไม่เกะกะ เมื่อออกดอกจะมีสีสันสวยงามทำให้ดูผ่อนคลายได้ <ref>http://women.thaiza.com</ref>
 
7. ไม่ควรเล่นคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์ในเวลากลางคือ เนื่องจากการเล่นคอมพิวเตอร์หรือสมาร์ทโฟนในตอนกลางคืนยังเสี่ยงจะทำให้อ้วนขึ้นด้วย เพราะแสงไฟสีฟ้าจะไปกระตุ้นความหิว <ref>http://www.thaihealth.or.th/Content/26311-%E2%80%98%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B9%82%E0%B8%9F%E0%B8%99%E2%80%99%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E.html</ref>
 
== หลักกฎหมายและป้องกันปัญหามลภาวะทางแสง==
ในหลายประเทศได้กำหนดมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมและป้องกันมลภาวะทางแสงโดยอาศัยแนวคิดพื้นฐานทางกฎหมาย หลายประการ<ref>http://www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/viewFile/28085/24133</ref>
 
1. หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) กล่าวคือการแสวงหาแนวทางและวิธีการในการควบคุมและป้องกันมลภาวะทางแสงจำเป็นต้องคำนึงควบคู่ไปกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น การกำหนดมาตรการในการควบคุมการขยายตัวของชุมชนเมืองเพื่อป้องกันปัญหามลภาวะทางแสง
เส้น 79 ⟶ 30:
 
4. หลักความร่วมมือจากทุกภาคส่วน (Cooperation Principle) กล่าวคือไม่ว่าจะเป็นภาครัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชนและภาคประชาชนต้องมีส่วนร่วมหรือมีความร่วมมือ กันในการเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านมลภาวะทางแสงและร่วมกันปฏิบัติตามแนวทางระเบียบและกฎหมายที่ภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้บัญญัติไว้
 
== ดูเพิ่ม ==
*[[รังสียูวี]]
*[[ครีมกันแดด]]
*[[โทรทัศน์]]
 
== อ้างอิง ==