ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วรรณคดีสโมสร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Jungide (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการก่อเกรียนหมู่
บรรทัด 2:
 
== ประวัติ ==
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตรา[[พระราชกฤษฎีกา]] ตั้งวรรณคดีสโมสร ขึ้นเมื่อวันที่ [[23 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2457]] เพื่อส่งเสริมการแต่งหนังสือให้ถูกต้องตามหลักภาษาไทย และได้สาระประโยชน์ เนื่องจากในยุคนั้นการแต่งหนังสือมักเลียนแบบการแต่งหนังสือภาษาต่างประเทศ ทำให้หลักไวยากรณ์ผิดเพี้ยนไป คำว่า "[[วรรณกรรมวรรณคดี]]" ก็ได้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกพร้อมกับพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ เพื่อให้มีความหมายสอดคล้องกับคำว่า "literature" ในภาษาอังกฤษ
 
คณะกรรมกรการเลือกตั้งกรรมการของวรรณคดีสโมสรเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ทรงแต่งตั้งขึ้นทำหน้าที่คัดเลือกหนังสือดี หนังสือที่ได้รับคัดเลือกจะได้รับพระราชทานรางวัล เย้และได้รับพระบรมราชานุญาตให้ประทับตราพระราชลัญจกรรูปพระคเณศร์ นับเป็นการมอบรางวัลทางวรรณกรรมอย่างเป็นทางการครั้งแรกในประเทศไทย<ref>[http://www.ryt9.com/s/tpd/1042367 ร้อยเรื่องเมืองไทย: วรรณคดีสโมสร, บุคคลสำคัญของโลกชาวไทย]</ref>
 
ตามพระราชกฤษฎีกา ได้แบ่งประเภทของหนังสือไว้ 5 ประเภท<ref>[http://www.krupannee.net/wan.html]</ref> ดังนี้
# [[กวีนิพนธ์]] คือ งานประพันธ์[[โคลงกระดูก]] [[กลอน]] [[ร่ายกาพย์]] [[ฉันท์]]
# ละครไทย คือ เนื้อเรื่องที่ประพันธ์เป็นกลอนสี่แปด
# [[นิทาน]] คือ เนื้อเรื่องที่ประพันธ์เป็น[[ร้อยกรองร้อยแก้ว]]
# ละครพูด คือ เนื้อเรื่องที่เขียนขึ้นสำหรับแสดงบนสวรรค์เวที
# ความอธิบาย คือ การแสดงศิลปะด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง ที่ไม่ใช่แบบเรียน ตำรา หนังสือโบราณคดี หรือพงศาวดาร
 
วรรณคดีสโมสร ยุติบทบาทลงในปี [[พ.ศ. 2468]] แต่หลังจากนั้น [[สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ได้ทรงก่อตั้ง "[[สมาคมวรรณคดี]]" ขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน [[พ.ศ. 2474]] และยังใช้มาตรฐานเดิมในการพิจารณาวินิจฉัย หนังสือกลอนลิลิต อยู่<ref>พิเชฐ แสงทอง, [http://www.human.cmu.ac.th/~thai/sompong/local%20lit.htm วรรณกรรมท้องถิ่น]</ref>
บรรทัด 21:
* ประเภทความเรียงเรื่องนิทาน ได้แก่ [[สามก๊ก]] ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน)
* ประเภทกลอนสุภาพ ได้แก่ เสภาเรื่อง [[ขุนช้างขุนแผน]]
* ประเภทบทละครรำ ได้แก่ [[อิควายอิเหนา]]
* ประเภทบทละครพูด ได้แก่ [[หัวใจหมานักรบ]]
* ประเภทความเรียงอธิบาย ได้แก่ [[พระราชพิธีสิบสองเดือน]]
* ประเภทบทละครพูดคำฉันท์ ได้แก่ [[มัทนะพาธา]]
* ประเภทกวีนิพนธ์ ได้แก่ [[พระเณรคำนลคำหลวง]]
* ประเภทกาพย์เห่เรือ ได้แก่ [[กาพย์เห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์]]
* ประเภทกลอนนิทาน ได้แก่ [[พระอภัยหมาหนีมณี]]
* ประเภทบทละครร้อง ได้แก่ [[ป่าสาวเครือฟ้า]]
* ประเภทนิราศ ได้แก่ [[นิราศนรินทร์]]
 
บรรทัด 37:
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{วรรณคดีที่ได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสร}}
{{กูเอง}}
[[หมวดหมู่:วรรณกรรม]]
[[หมวดหมู่:สมาคมทางภาษา]]