ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จิตสวนศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 18 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q557399 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
สมิง เหล็กดัด (คุย | ส่วนร่วม)
ตัดต่อวีดีโอเป็นmp3
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''จิตสวนศาสตร์''' (คำอ่าน : จิด-ตะ-สะ-วะ-นะ-สาดตัดต่อวีดีโอเป็นmp3 ; {{lang-en|Psychoacoustics}}) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ[[ประสาทสัมผัส]]ของมนุษย์ด้าน[[การได้ยิน]]
 
== พื้นฐาน ==
บรรทัด 13:
การซ่อนเสียง (Sound masking) เป็นการเพิ่มเสียงธรรมชาติ หรือเสียงสังเคราะห์ (ตามปกติ ถึงแม้ว่าเรียกอย่างไม่ตรงนักว่า “เสียงสีขาวwhite noise” หรือ “เสียงสีชมพูpink noise” เสียงสีขาวเป็นเสียงแบบสุ่มซึ่งคลุมสเปกตรัมความถี่ยินได้ทั้งหมดด้วยความเข้มเท่าๆกันโดยประมาณทุกความถี่ เสียงนี้จะได้ยินคล้ายน้ำตกที่กำลังไหลซู่ หรือลมที่กำลังพัดผ่านต้นไม้ เสียงสีชมพูมีค่าความเข้มลดลงตามลำดับช่วงความถี่สูง) เข้าสู่สภาวะแวดล้อมเพื่อบดบังเสียงที่ไม่ต้องการโดยการใช้การซ่อนทางโสตประสาท วิธีนี้แตกต่างจากเทคนิคการควบคุมเสียงแบบใช้พลังงาน การซ่อนเสียงลดหรือกำจัดการรับรู้เสียงที่มีอยู่ก่อนแล้วในบริเวณที่กำหนดและสามารถทำให้สภาพแวดล้อมที่ทำงานสบายขึ้น ขณะที่สร้างความเป็นส่วนตัวของการพูดเพื่อผู้ทำงานสามารถมีสมาธิดีขึ้นและประสิทธิภาพมากขึ้น การซ่อนเสียงสามารถใช้ภายนอกได้ด้วยเพื่อคืนสภาพแวดล้อมให้เป็นธรรมชาติมากขึ้น
 
การซ่อนเสียงถูกอธิบายได้โดยอุปมาอุปไมยกับแสง ลองนึกถึงห้องมืดห้องหนึ่งที่ซึ่งบางคนกำลังเปิดปิดไฟฉาย แสงไฟฉายนี้ชัดแจ้งและน่ารำคาญ คราวนี้นึกว่าเปิดไฟในห้อง ไฟฉายก็ยังคงเปิดปิด แต่สังเกตไม่ได้อีกต่อไปเพราะว่ามันถูกซ่อนเอาไว้ การซ่อนเสียงเป็นกระบวนการที่คล้ายคลึงกันในการปกปิดเสียงอันน่ารำคาญด้วยเสียงซึ่งปลอบประโลมกว่าหรือน่ารำคาญน้อยกว่า
 
[[หมวดหมู่:สวนศาสตร์]]