ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุชนา ชวนิชย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Sarocha.p (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
 
== ประวัติ ==
ซึ่งปัจจุบันรองศาสตราจารย์ ดร. สุชนา ชวนิชย์ เป็นนักวิทยาศาสตร์และนักวิชาการทางด้านชีววิทยาทางทะเล ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล [[คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และนักวิชาการทางด้านชีววิทยาทางทะเลรองศาสตราจารย์ ดร. สุชนา ชวนิชย์ อีกทั้งยังเป็นที่รู้จักกันดีจากการที่เป็นนักวิทยาศาสตร์หญิงไทยคนแรกที่ไปศึกษาวิจัยที่ทวีป[[แอนตาร์กติก]] หรือที่[[ขั้วโลกใต้]] นอกจากนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ยังเป็นหนึ่งในทีมของนักวิทยาศาสตร์ไทยที่สามารถทำการเพาะขยายพันธุ์[[ปะการัง]]แบบอาศัยเพศสำเร็จเป็นครั้งแรกของประเทศไทย
 
รองศาสตราจารย์ ดร. สุชนา ชวนิชย์ จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา จาก[[โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีที่[http://www.marine.sc.chula.ac.th ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล] [[คณะวิทยาศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] แล้วจึงเดินทางไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโทที่ Central Connecticut State University และปริญญาเอกที่ University of New Hampshire ประเทศสหรัฐอเมริกา
 
ซึ่งปัจจุบันรองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ เป็นอาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล [[คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และนักวิชาการทางด้านชีววิทยาทางทะเล อีกทั้งยังเป็นที่รู้จักกันดีจากการที่เป็นนักวิทยาศาสตร์หญิงไทยคนแรกที่ไปศึกษาวิจัยที่ทวีป[[แอนตาร์กติก]] หรือที่[[ขั้วโลกใต้]] นอกจากนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ยังเป็นหนึ่งในทีมของนักวิทยาศาสตร์ไทยที่สามารถทำการเพาะขยายพันธุ์[[ปะการัง]]แบบอาศัยเพศสำเร็จเป็นครั้งแรกของประเทศไทย
ในผลงานที่โดดเด่น ของ รองศาสตราจารย์ ดร. สุชนา ชวนิชย์ คือ การที่เป็นนักวิทยาศาสตร์หญิงไทยคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วมเป็นหนึ่งในทีมสำรวจทวีปแอนตาร์กติกาแอนตาร์กติกร่วมกับคณะสำรวจทวีปแอนตาร์กติกจากประเทศญี่ปุ่น รุ่นที่ 51 (JARE-51; 51<sup>st</sup> Japanese Antarctic Research Expedition) เพื่อร่วมศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมในปี 2552 ทำให้ นอกจากนี้ ในปี 2557 รองศาสตราจารย์ ดร. สุชนา เป็นนักวิทยาศาสตร์หญิงไทยคนแรกที่ได้รับเลือกให้เข้าร่วมการสำรวจที่ทวีปแอนตาร์กติกชวนิชย์ และในปี 2557 ก็ยังได้รับโอกาสเป็นครั้งที่สองในการเดินทางไปคาบสมุทรแอนตาร์กติกร่วมกับคณะสำรวจทวีปแอนตาร์กติกจากของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] รุ่นที่ 30 (CHINARE 30; 30<sup>th</sup> Chinese National Antarctic Research Expedition) เพื่อร่วมศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ภายใต้โครงการศึกษาวิจัยขั้วโลกตามพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อร่วมศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate โดยการเดินทางChange) ที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และในครั้งที่สองนี้ รองศาสตราจารย์ ดร. สุชนา ชวนิชย์ ได้มีโอกาสดำน้ำแบบลึก (SCUBA diving) ที่ทะเล[[แอนตาร์กติก]] จึงถือได้ว่า รองศาสตราจารย์ ดร. สุชนา ชวนิชย์ เป็นนักวิทยาศาสตร์หญิงไทยคนแรกที่ลงดำน้ำที่ทะเลแอนตาร์กติกอีกด้วย
 
<br />
รองศาสตราจารย์ ดร. สุชนา ชวนิชย์ ไม่เพียงแต่เป็นอาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเลเท่านั้น แต่ยังเป็น ครูสอนดำน้ำ อาจารย์พิเศษ วิทยากรพิเศษ ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ ผู้เขียนบทความ และผู้แปลบทความ ด้านการดำน้ำ การอนุรักษ์ ทางทะเล และการท่องเที่ยวทางทะเล ให้กับให้นิตยสารทั้งในและต่างประเทศ มหาวิทยาลัยต่างๆ และหน่วยราชการอื่นๆ
 
จากการทำงานวิจัยในด้านระบบนิเวศทางทะเล รวมถึง การอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลทั้งบริเวณขั้วโลกและเขตร้อน จนถึงปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ดร. สุชนา ได้รับรางวัลและการยกย่องต่างๆ อาทิเช่น
* ได้รับคัดเลือกให้เป็น “1 ใน 17 Asia Power Women” ที่สร้างแรงบันดาลใจในอาชีพต่างๆ จากการคัดเลือกของนิตยสาร Her World ประจำปี 2558
* รางวัล “บุคคลที่สร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเอง” จาก สถาบันพัฒนาศักยภาพ ชมรมพัฒนาศักยภาพของมหาวิทยาลัย 6 สถาบัน (ประกอบด้วย[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]] และ[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]) ประจำปี 2558
* รางวัล “Outstanding Scientist Award” จาก UNESCO – IOC/WESTPAC ประจำปี 2557
* ได้รับคัดเลือกให้เป็น “1 ใน 100 คน ที่สร้างแรงบันดาลใจให้กับคนไทย” จากการคัดเลือกของ The In Residence ประจำปี 2556
* รางวัลทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์ (For Women in Science)” ครั้งที่ 6 สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ โดย บริษัท ลอริอัล (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับสำนักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ([[UNESCO]]) ประจำปี 2551
 
== อ้างอิง ==