ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหม เวชกร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
 
== ประวัติ ==
เหม เวชกร เกิดเมื่อวันที่ 17 มกราคม 2446 ที่ตำบลพระราชวัง อำเภอและจังหวัดพระนคร เป็นบุตรของ[[หม่อมราชวงศ์หุ่น ทินกร]] กับ[[หม่อมหลวงสำริด พึ่งบุญ]] ครั้นพ่อกับแม่แยกทางกันจึงไปอยู่กับ[[หม่อมราชวงศ์แดง ทินกร]] ผู้เป็นลุง ทำให้มีโอกาสพบและเป็นผู้ช่วยให้กับ [[คาร์โล ริโกลี]] จิตรกรชาวอิตาเลียน ที่เขียนภาพบนเพดานโดมใน[[พระที่นั่งอนันตสมาคม]] และเป็นคนสอนให้หัดวาดเส้น และลวดลายต่างๆ แต่ต่อมาจิตรกรชาวอิตาเลียนรู้สึกชอบพอในอัธยาศัยและฝีมือของเหมชีวิตผกผันเร่ร่อนไปทำงานเป็นนายท้ายเรือโยงมาก และเป็นช่าง[[เครื่องจักรไอน้ำ]]แล้วผันตัวถึงขนาดชักชวนให้ไปเป็นช่างเครื่องในงานสร้าง[[เขื่อนพระรามหก]]เรียนต่อทางศิลปะที่อิตาลี เมื่อเข้ากรุงเทพมาเป็นช่างเขียนโดยคุณลุงผู้อุปการะในกรมตำราทหารบก กระทรวงกลาโหม และพร้อมกับมีอาชีพเสริมด้วยการเล่นดนตรีไทย งานเล่นดนตรีคลอประกอบการฉายหนังเงียบในโรงภาพยนตร์ เวลานั้นได้ตอบอนุญาตแล้ว แต่ต่ออาชีพนักดนตรีเริ่มฝืดเคืองเมื่อความรู้ถึงบิดา กลับให้คนมาลักพาตัวไปเสียก่อนถึงวันเดินทาง เริ่มงานเขียนปกนวนิยายเหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้เขาไม่ได้พบหน้า เป็นงานหลักหาเลี้ยงชีพ ปลายปี [[พ..ว.แดง 2478]] เหม เวชกรและเพื่อนได้ร่วมกันเปิดสำนักพิมพ์ ‘เพลินจิตต์’ พิมพ์นิยายราคาถูก ปกผู้เป็นภาพเขียนฝีมือของเหม พิมพ์สอดสีสวยงาม ราคา 10 สตางค์ ลุงอีกเลย
 
ชีวิตในวัยรุ่นของเขา นับเป็นช่วงเวลาที่ตกยากที่สุด ทั้งพ่อและแม่ ที่ต่างผลัดกันแย่งยื้อตัวเขาไว้ ก็ไม่มีใครได้เลี้ยงดูจริงจัง ตามประวัติกล่าวว่าเขาเคยเรียนที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ และอัสสัมชัน แต่ก็คงได้เพียงชั่วเวลาสั้นๆ จากนั้นเหมต้องกลายเป็นคนซัดเซพเนจรไปหลายที่ แม้แต่นามสกุล "เวชกร" ที่ใช้มาตลอดชีวิต ก็เป็นนามสกุลของครอบครัวขุนประสิทธิ์เวชกร (แหยม เวชกร) อดีตแพทย์ประจำจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเคยให้การอุปถัมภ์เขาไว้ครั้งหนึ่ง
ชีวิตส่วนตัวสมรสกับ[[แช่มชื่น คมขำ]] แห่งสำนักวังหลานหลวงของกรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์โดยไม่มีทายาท เหม เวชกร ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 16 เมษายน 2512 <ref>[http://fulltext.car.chula.ac.th/doc.asp?dirid=I0002&page=0021&dirname=ครูเหม%20เวชกร นิทรรศการภาพวาดวิจิตร ครูเหม เวชกร (2539 : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)]</ref> ณ บ้านพักแหล่งสุดท้ายของท่านที่ซอยตากสิน 1 เขตธนบุรี
ช่วงที่ชีวิตผกผัน เหม เวชกร ต้องเร่ร่อนไปทำงานหลายอย่าง นับแต่เป็นนายท้ายเรือโยงขึ้นล่องแม่น้ำเจ้าพระยา และเป็นช่าง[[เครื่องจักรไอน้ำ]] แล้วผันตัวไปเป็นช่างเครื่องในงานสร้าง[[เขื่อนพระรามหก]] เมื่อเข้ากรุงเทพมาเป็นช่างเขียนในกรมตำราทหารบก กระทรวงกลาโหม และพร้อมกับมีอาชีพเสริมด้วยการเล่นดนตรีไทย งานเล่นดนตรีคลอประกอบการฉายหนังเงียบในโรงภาพยนตร์ แต่ต่ออาชีพนักดนตรีเริ่มฝืดเคือง เริ่มงานเขียนปกนวนิยาย เป็นงานหลักหาเลี้ยงชีพ ปลายปี [[พ.ศ. 2478]] เหม เวชกรและเพื่อนได้ร่วมกันเปิดสำนักพิมพ์ ‘เพลินจิตต์’ พิมพ์นิยายราคาถูก ปกเป็นภาพเขียนฝีมือของเหม พิมพ์สอดสีสวยงาม ราคา 10 สตางค์
 
ชีวิตส่วนตัวสมรสกับ[[แช่มชื่น คมขำ]] แห่งสำนักวังหลานหลวง ของ[[กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์]] โดยไม่มีทายาท เหม เวชกร ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 16 เมษายน 2512 <ref>[http://fulltext.car.chula.ac.th/doc.asp?dirid=I0002&page=0021&dirname=ครูเหม%20เวชกร นิทรรศการภาพวาดวิจิตร ครูเหม เวชกร (2539 : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)]</ref> ณ บ้านพักแหล่งสุดท้ายของท่านที่ซอยตากสิน 1 เขตธนบุรี
 
== ผลงาน ==