ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตะจาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บอกแค่วันที่ก็พอ
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''ตะจาน''' ({{lang-en|Thingyan}}; {{lang-my|သင်္ကြန်}}; มาจาก[[ภาษาบาลี]]คำว่า "[[สงกรานต์]]" ซึ่งหมายถึง "ดวงอาทิตย์โคจรจากราศีมีนสู่ราศีเมษ"<ref>{{cite web|url=http://www.seasite.niu.edu/Burmese/Culture/thingyan.htm|author= Min Kyaw Min|publisher= [[Northern Illinois University]]|title=Thingyan}}</ref>)
 
ตะจาน เป็นวัฒนธรรมของชาวพม่าแต่โบราณไม่ต่ำกว่า 3,000 ปี และถือเป็นวันขึ้นปีใหม่ เพื่อกำหนดวันขึ้นปีใหม่ให้สะดวกขึ้น วันขึ้นปีใหม่ของพม่าจึงกำหนดตามปฏิทินสากล จึงซึ่งตรงกับเดือนเมษายน ตามปฏิทินสากล โดยทั่วไปแล้วจะเริ่มตั้งแต่วันที่ 12 เมษายน ถึง 16 เมษายน ช่วงนี้จะเป็นการเล่นสาดน้ำต้อนรับปีใหม่ และในวันที่ 17 เมษายน ถือเป็นวันขึ้นปีใหม่ เดิมทีทางการพม่าได้กำหนดระหว่างวันที่ 12 เมษายนจนถึงวันที่ 16 เมษายน เป็นวันหยุดราชการ แต่ปัจจุบันได้กำหนดให้เป็นวันหยุดราชการไปจนถึงวันที่ 22 เมษายน
ตะจาน เป็นวัฒนธรรมของชาวพม่าแต่โบราณไม่ต่ำกว่า 3,000 ปี โดยเล่นสาดน้ำให้กันและกันเหมือน[[ประเพณีสงกรานต์]]ของอีกหลายประเทศในภูมิภาคเดียวกัน และถือเป็นวันขึ้นปีใหม่
 
ตะจาน ก็คล้ายกับ[[ประเพณีสงกรานต์]]ในประเทศอื่นในภูมิภาคเดียวกัน คือ การเล่นสาดน้ำเพื่อคลายร้อน และจะไดเปรียบเหมือนเป็นการลบล้างสิ่งสกปรกไม่ดีจากปีเก่าเพื่อความรักใคร่ซึ่งกันและกันเป็นสิริมงคล ในสมัยอดีตจะใช้การเล่นสาดน้ำอย่างเบา ๆ โดยใช้ยอด[[หว้า]]อ่อนชุบใส่น้้ำน้ำปรุงแล้วแตะเบา ๆ บนไหล่ของผู้ที่จะเล่นสาดน้ำด้วย แต่ในปัจจุบันเป็นการเล่นสาดน้ำที่รุนแรงและสุดเหวี่ยงขึ้น บางครั้งอาจตั้งเวทีต่อสายยางฉีดน้ำใส่กัน บางส่วนก็ขับรถยนต์หรือมอเตอร์ไซด์เล่นน้ำกันด้วย นอกจากการเล่นสนุกสนานแล้ว ก็ยังมีประเพณีบุญ คือ การทำบุญเพื่อความเป็นสิริมงคล เช่น การตักบาตร, สรงน้ำพระพุทธรูป, ถือศีลปฏิบัติธรรม, ทำความสะอาดวัดหรือศาสนสถาน, ทำบุญบ้าน, สระผมหรืออาบน้ำทำความสะอาดให้แก่คนชราที่ไร้ญาติ รวมถึงการปล่อยสัตว์ต่าง ๆ เช่น นก, ปลา หรือสัตว์ใหญ่อย่าง วัวหรือควาย นอกจากนี้แล้วผู้คนที่ไปใช้ชีวิตอยู่ในต่างถิ่น ก็จะเดินทางกลับสู่ถิ่นเกิดเพื่อกราบไหว้ผู้ใหญ่ในครอบครัว เช่น พ่อแม่, ปู่ย่าตายาย, ลุงป้าน้าอา เป็นต้น
เพื่อกำหนดวันขึ้นปีใหม่ให้สะดวกขึ้น วันขึ้นปีใหม่ของพม่าจึงกำหนดตามปฏิทินสากล จึงตรงกับเดือนเมษายน ตามปฏิทินสากล โดยทั่วไปแล้วจะเริ่มตั้งแต่วันที่ 12 เมษายน ถึง 16 เมษายน ช่วงนี้จะเป็นการเล่นสาดน้ำต้อนรับปีใหม่ และในวันที่ 17 เมษายน ถือเป็นวันขึ้นปีใหม่
 
เดิมทีทางการพม่าได้กำหนดระหว่างวันที่ 12 เมษายนจนถึงวันที่ 16 เมษายน เป็นวันหยุดราชการ แต่ปัจจุบันได้กำหนดให้เป็นวันหยุดราชการไปจนถึงวันที่ 22 เมษายน
 
ตะจาน ก็คล้ายกับประเพณีสงกรานต์ในประเทศอื่นในภูมิภาคเดียวกัน คือ การเล่นสาดน้ำเพื่อคลายร้อน และจะไดเป็นการลบล้างสิ่งสกปรกจากปีเก่าเพื่อความรักใคร่ซึ่งกันและกัน ในสมัยอดีตจะใช้การเล่นสาดน้ำอย่างเบา ๆ โดยใช้ยอด[[หว้า]]อ่อนชุบใส่น้้ำปรุงแล้วแตะเบา ๆ บนไหล่ของผู้ที่จะเล่นสาดน้ำด้วย แต่ในปัจจุบันเป็นการเล่นสาดน้ำที่รุนแรงและสุดเหวี่ยงขึ้น บางครั้งอาจตั้งเวทีต่อสายยางฉีดน้ำใส่กัน บางส่วนก็ขับรถยนต์หรือมอเตอร์ไซด์เล่นน้ำกันด้วย นอกจากการเล่นสนุกสนานแล้ว ก็ยังมีประเพณีบุญ คือ การทำบุญเพื่อความเป็นสิริมงคล เช่น การตักบาตร, สรงน้ำพระพุทธรูป, ถือศีลปฏิบัติธรรม, ทำความสะอาดวัดหรือศาสนสถาน, ทำบุญบ้าน, สระผมหรืออาบน้ำทำความสะอาดให้แก่คนชราที่ไร้ญาติ รวมถึงการปล่อยสัตว์ต่าง ๆ เช่น นก, ปลา หรือสัตว์ใหญ่อย่าง วัวหรือควาย นอกจากนี้แล้วผู้คนที่ไปใช้ชีวิตอยู่ในต่างถิ่น ก็จะเดินทางกลับสู่ถิ่นเกิดเพื่อกราบไหว้ผู้ใหญ่ในครอบครัว เช่น พ่อแม่, ปู่ย่าตายาย, ลุงป้าน้าอา เป็นต้น
 
ในเทศกาลตะจานนี้ มีอาหารพิเศษหลายอย่าง เช่น ''โม่นโล่นเยบอ'' (မုန့်လုံးရေပေါ်) เป็นขนมที่ทำรับประทานกันโดยเฉพาะในช่วงนี้ โดยมีความหมายถึง ความสามัคคี เพราะเมื่อทำขนมนี้ต้องใช้ผู้คนหลายคน และแจกจ่ายแก่บุคคลอื่นที่ผ่านไปมา และ ''ตะจานทะมี้น'' (ဆန်န်စပါး) เป็นข้าวสวยที่แช่ในน้ำที่มีกลิ่นเทียนหอม รับประทานกับเครื่องเคียง คือ ปลาช่อนแห้งผัดกับหอมเจียว และยำมะม่วงดอง<ref>หน้า 22 การศึกษา, ''ปีใหม่พม่า หรือ เทศกาลน้ำ 'ตะ-จาน' '' โดย ตูซาร์ นวย. เดลินิวส์ฉบับที่ 23,556: วันศุกร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2556</ref>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ตะจาน"