ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเขมรตะวันตก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox Language
|name = ภาษาเขมรถิ่นตะวันตก
|nativename =
|pronunciation =
บรรทัด 15:
}}
 
'''ภาษาเขมรถิ่นตะวันตก''' หรือ '''ภาษาเขมรถิ่นจันทบุรี''' เป็นภาษาถิ่นหนึ่งของ[[ภาษาเขมร]] ที่ใช้พูดในประชากรผู้มี[[ชาวเขมร|เชื้อสายเขมร]]ที่อาศัยอยู่บริเวณ[[ทิวเขาบรรทัด]]นับแต่ชายแดนกัมพูชาด้านตะวันตกจนถึงภาคตะวันออกของประเทศไทยโดยเฉพาะใน[[จังหวัดจันทบุรี]]ที่ซึ่งมีชุมชนเชื้อสายเขมรตั้งถิ่นฐานใกล้แนวชายแดน<ref>{{cite web |url= http://www.sac.or.th/databases/ethnic/Content/Information/khmer.html |title= เขมร |author= |date= |work= ฐานข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)|publisher= |accessdate= 18 ตุลาคม 2558 }}</ref><ref name= "จันทบุรี">{{cite web |url= http://www.m-culture.go.th/chanthaburi/index.php/2013-06-07-07-41-19/ประเพณีท้องถิ่น-รายการ/item/กลุ่มชนชาติต่างๆ-ของจันทบุรี |title= กลุ่มชนชาติต่าง ๆ ของจันทบุรี |author=|date= 9 ตุลาคม 2556 |work= สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดจันทบุรี |publisher= |accessdate= 18 ตุลาคม 2558 }}</ref> ซึ่งกลุ่มชนเขมรในจันทบุรีนั้นได้อาศัยในบริเวณดังกล่าวก่อนการปักปันเขตแดนกับฝรั่งเศสเมื่อปี พ.ศ. 2449 และรับสัญชาติไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2452 เป็นต้นมา<ref name= "บูรพา">{{cite web |url= http://arts.hcu.ac.th/upload/files/JournalLib/5-918.pdf |title= การดำรงอยู่ของวิถีชีวิต ประเพณี พิธีกรรมและความเชื่อ ของกลุ่มชนชาวไทยเขมร (เขมรถิ่นไทย) ที่อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี |author= ณรงค์ฤทธิ์ สุขสวัสดิ์ |date= 18 กรกฎาคม-ธันวาคม 2557 |work= วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ |publisher= |accessdate= 18 ตุลาคม 2558 }}</ref>
 
ภาษาเขมรถิ่นตะวันตกนี้มีความแตกต่างจากสำเนียงอื่น ด้วยยังสามารถอนุรักษ์รักษาการเปรียบต่างระหว่างเสียงสระพูดปรกติ (modal voice) กับเสียงพูดลมแทรกที่ (breathy voice) ซึ่งสูญไปแล้วในภาษาเขมรสำเนียงอื่นไม่มีแล้ว<ref name=Wayland>Wayland & Jongman. [http://sealang.net/archives/mks/pdf/31:65-82.pdf Chanthaburi Vowels: Phonetic and Phonemic Analyses] Mon-Khmer Studies 31:65-82</ref><ref name="JoP">[http://www2.ku.edu/~kuppl/jongman/Wayland%20%26%20Jongman%2003.pdf Acoustic correlates of breathy and clear vowels: the case of Khmer]. Journal of Phonetics 31 (2003). pp 181-201</ref> นักภาษาศาสตร์ สันนิษฐานกันว่าเคยมีปรากฏการณ์จัดตั้งหน่วยเสียงระบบใหม่พูดลมแทรกขึ้นในภาษาเช่นว่านี้ ในขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงทางเสียงของภาษาเขมร<ref name= "มหิดล">{{cite web |url= http://www.tci-thaijo.org/index.php/JLC/article/view/32360 |title= ภาษาเขมรบ้านสำโรงบน ตำบลทรายขาว อำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี |author= ชัยวัฒน์ เสาทอง |date= |work= สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล |publisher= |accessdate= 18 ตุลาคม 2558 }}</ref>
 
ทั้งนี้ในจังหวัดจันทบุรีเองมีชุมชนที่มีเชื้อสายเขมรในตำบลเทพนิมิต, ตำบลหนองตาคง และตำบลคลองใหญ่ ใน[[อำเภอโป่งน้ำร้อน]]<ref name="จันทบุรี" /><ref name="บูรพา" /> และมีชุมชนที่ตำบลทรายขาวใน[[อำเภอสอยดาว]]<ref name="มหิดล" />
 
== อ้างอิง ==