ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คตินิยมศิลปะญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Alpinu (คุย | ส่วนร่วม)
French spelling (Français)
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|ศิลปะญี่ปุ่น}}
[[ไฟล์:Lautrec reine de joie (poster) 1892.jpg|thumb|right|250px|ภาพพิมพ์โปสเตอร์โดย[[อ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก]] ค.ศ. 1892]]
'''คตินิยมศิลปะญี่ปุ่น''' ({{lang-en|Japonism หรือ Japonisme}}) เดิมมาจากภาษาฝรั่งเศสที่ใช้ในภาษาอังกฤษด้วย เป็นคำที่หมายถึง[[ศิลปะตะวันตก]]ที่ได้รับอิทธิพลจาก[[ศิลปะญี่ปุ่น|ศิลปะของญี่ปุ่น]] คำนี้ใช้เป็นครั้งแรกโดยชูลส์ แคลตีในหนังสือ ''L'Art FrancaisFrançais en 1872'' (''ศิลปะฝรั่งเศสของปี ค.ศ. 1872'') ที่ตีพิมพ์ในปีเดียวกัน<ref name="Ives">Colta F. Ives, "The Great Wave: The Influence of Japanese Woodcuts on French Prints", 1974, The Metropolitan Museum of Art, ISBN 0-87099-098-5</ref> งานที่ถ่ายทอดจากพื้นฐานของศิลปะญี่ปุ่นโดยตรงใน[[ศิลปะตะวันตก]]โดยเฉพาะงานที่สร้างโดยศิลปิน[[ชาวฝรั่งเศส]]เรียกว่า "japonesque" ("แบบญี่ปุ่น")
 
ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1860 [[ภาพพิมพ์แกะไม้]][[ภาพอุกิโยะ]] (ukiyo-e) <!--ไม่ใช่ อุกิโย (ukiyo) ซึ่งเป็นอีกคำหนึ่ง -->ของญี่ปุ่นกลายเป็นแหล่งของแรงบันดาลใจสำหรับ[[ศิลปะอิมเพรสชันนิสม์|จิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์]]ชาวยุโรปในฝรั่งเศสและในประเทศตะวันตกและในที่สุดก็รวมไปถึงจิตรกร[[นวศิลป์]]และ[[บาศกนิยม]] (cubism) ต่อมา สิ่งที่กระทบความรู้สึกของศิลปินของศิลปะญี่ปุ่นคือการละการใช้[[ทัศนมิติ]]และเงา, การใช้สีจัดในบริเวณภาพที่ราบ, เสรีภาพในการจัดองค์ประกอบในการวางหัวเรื่องของภาพจากศูนย์กลางของภาพ ที่ส่วนใหญ่อยู่ในมุมทแยงด้านต่ำจากฉากหลัง