ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาลาเรีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 162:
<br> <span style="color:silver; font-size:120%;">♦</span>&nbsp;ไม่มีมาลาเรีย
]]
องค์การอนามัยโลกประเมินว่าในปี 2553 มีผู้ป่วยมาลาเรีย 219 ล้านคน มีผู้เสียชีวิต 660,000 คน<ref name="Nadjm 2012"/><ref name="World Malaria Report 2012"/> องค์การอื่นประเมินจำนวนผู้ป่วยไว้ระหว่าง 350 ถึง 550 ล้านคนสำหรับมาลาเรียชนิดฟัลซิปารัม<ref name="Olu 2013"/> และมีผู้เสียชีวิต 1.24 ล้านคนในปี 2553 เพิ่มขึ้นจาก 1.0 ล้านคนในปี 2533<ref name="Loz 2012"/> ผู้ป่วยส่วนใหญ่ (65%) เป็นเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี<ref name="lancet-glob-mal-mort"/> สตรีมีครรภ์ราว 125 ล้านคนเสี่ยงต่อการติดเชื้อทุกปี ใน[[แอฟริกาใต้สะฮารา]] มาลาเรียของมารดาสัมพันธ์กับการเสียชีวิตของทารกที่ประเมินถึง 200,000 คนต่อปี<ref name="Hartman 2010"/> มีผู้ป่วยมาลาเรียราว 10,000 คนต่อปีในยุโรปตะวันตก และ 1,300–1,500 คนต่อปีในสหรัฐอเมริกา<ref name="Taylor 2012"/> ราว 900 คนเสียชีวิตจากโรคในทวีปยุโรประหว่างปี 2536 ถึง 2546<ref name="Kajfasz 2009"/> ทั้งอุบัติการณ์ของโรคทั่วโลกและอัตราตายอันเกิดจากโรคลดลงในช่วงหลัง ตามข้อมูลองค์การอนามัยโลก การเสียชีวิตจากโรคมาลาเรียในปี 2553 ลดลงกว่าหนึ่งในสามจากปี 2543 ซึ่งประเมินไว้ 985,000 คน ส่วนใหญ่เนื่องจากการใช้มุ้งชุบยาฆ่าแมลงและการบำบัดผสมผสานยึดอาร์ตีมิซินิน<ref name="Howitt 2012"/> ในปี 2555 มีผู้ป่วยมาลาเรีย 207 ล้านคน ในปีนั้น ประมาณว่ามีผู้เสียชีวิตจากโรคระหว่าง 473,000 ถึง 789,000 คน ซึ่งจำนวนมากเป็นเด็กในทวีปแอฟริกา<ref name=WHO2014>{{cite web|title=Malaria Fact sheet N°94|url=http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs094/en/|website=WHO|accessdate=28 August 2014|date=March 2014}}</ref> ความพยายามลดโรคมาลาเรียในทวีปแอฟริกานับแต่เริ่มสหัสวรรษใหม่มีผลบางส่วน โดยอัตราโรคในทวีปแอฟริกาลดลงโดยประมาณ 40%<ref>{{cite journal |first=S. |last=Bhatt |first2=D. |last2=J. Weiss |first3=E. |last3=Cameron |first4=D. |last4=Bisanzio |first5=B. |last5=Mappin |first6=U. |last6=Dalrymple |first7=K.E. |last7=Battle |first8=C.L. |last8=Moyes |first9=A. |last9=Henry |first10=P.A. |last10=Eckhoff |first11=E.A. |last11=Wenger |first12=O. |last12=Briët |first13=M.A. |last13=Penny |first14=T.A. |last14=Smith |first15=A. |last15=Bennett |first16=J. |last16=Yukich |first17=T.P. |last17=Eisele |first18=J.T. |last18=Griffin |first19=C. |last19=A. Fergus |first20=M. |last20=Lynch |first21=F. |last21=Lindgren |first22=J.M. |last22=Cohen |first23=C.L.J. |last23=Murray |first24=D.L. |last24=Smith |first25=S.I. |last25=Hay |first26=R.E. |last26=Cibulskis |first27=P.W. |last27=Gething |pages=207–211 |pmid=26375008 |date=16 September 2015 |title=The effect of malaria control on ''Plasmodium falciparum'' in Africa between 2000 and 2015 |url=http://www.nature.com/nature/journal/v526/n7572/full/nature15535.html |journal=Nature |volume=526 |issue=7572 |doi=10.1038/nature15535 }}</ref>
 
มาลาเรียปัจจุบันประจำถิ่นในแถบกว้างรอบเส้นศูนย์สูตร ในพื้นที่ทวีปอเมริกา หลายส่วนของทวีปเอเชีย และส่วนใหญ่ของทวีปแอฟริกา การตายจากมาลาเรีย 85–90% เกิดในแอฟริกาใต้สะฮารา ประเมินปี 2552 รายงานว่าประเทศที่มีอัตราตายสูงสุดต่อประชากร 100,000 คน คือ [[ไอวอรีโคสต์]] (86.15) [[แองโกลา]] (56.93) และ[[บูร์กินาฟาโซ]] (50.66)<ref name="Provost 2011"/> ประเมินปี 2553 ชี้ว่าประเทศที่มีการเสียชีวิตจากมาลาเรียมากที่สุดต่อประชากร คือ ประเทศบูร์กินาฟาโซ [[โมซัมบิก]]และ[[มาลี]]<ref name="lancet-glob-mal-mort"/> [[โครงการแอตลัสมาลาเรีย]]มุ่งทำแผนที่ระดับประจำถิ่นทั่วโลกของมาลาเรีย โดยเป็นวิธีใช้ตัดสินการจำกัดตามพื้นที่ทั่วโลกของโรคและประเมินภาระโรค<ref name="Guerra 2007"/><ref name="Hay 2010"/> ความพยายามนี้นำไปสู่การพิมพ์เผยแพร่แผนที่ภาวะประจำถิ่นของ ''P. falciparum'' ในปี 2553<ref name="Gething 2011"/> ซึ่งราว 100 ประเทศมีมาลาเรียประจำถิ่น<ref name="World Malaria Report 2012"/><ref name="Feachem 2010"/> ทุกปี นักเดินทางระหว่างประเทศ 125 ล้านคนเดินทางเข้าประเทศเหล่านี้ และกว่า 30,000 คนสัมผัสโรค<ref name="Kajfasz 2009"/>