ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความกลัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Expression_of_the_Emotions_Figure_20.png|thumb|right|สีหน้าแสดงความกลัว จากหนังสือ ''The Expression of the Emotions in Man and Animals'' ของ[[ชาลส์ ดาร์วิน]]]]
 
'''ความกลัว''' เป็น[[อารมณ์]]ที่เกิดจากการรับรู้[[การคุกคาม|ภัยคุกคาม]]ของ[[สิ่ง]]มีชีวิต ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสมองและการทำงานของอวัยวะ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในที่สุด เช่น การวิ่งหนี การหลบซ่อน หรือการช็อคจากเหตุการณ์ที่ทำร้ายจิตใจ ความกลัวอาจเป็นการตอบสนองต่อ[[ตัวกระตุ้น]]ที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ปัจจุบัน หรือในอนาคต ซึ่งรับรู้ว่าเป็น[[ความเสี่ยง]]ต่อสุขภาพหรือชีวิต สถานภาพ อำนาจ ความปลอดภัย หรือความมั่งคั่ง หรือสิ่งมีค่าใด ๆ การตอบสนองความกลัวเกิดขึ้นได้จาก[[สัญชาน|การรับรู้]]อันตรายที่นำไปสู่การเผชิญหน้าหรือการหลบหนีจากภัยคุกคาม ซึ่งในกรณีความกลัวสุดโต่ง อาจทำให้ช็อคหรือชาได้
'''ความกลัว''' เป็นการตอบสนองทาง[[อารมณ์]]ต่อการถูกคุกคามหรือภัยอันตราย นับเป็นกลไกพื้นฐานในการเอาตัวรอดต่อสิ่งกระตุ้นหนึ่งๆ ที่จำเพาะ เช่น การกลัวต่อ[[ความเจ็บปวด]]หรือสิ่งก่อให้เกิดความเจ็บปวด นักจิตวิทยาให้ความเห็นว่าความกลัวเป็นหนึ่งในอารมณ์พื้นฐานแต่กำเนิดซึ่งรวมถึง[[ความสุข]], [[ความเศร้า]] และ[[ความโกรธ]]
 
ความกลัวนั้นแตกต่างจาก[[มีความหมายใกล้เคียงกับ "ความกังวล]]" แต่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นการตอบสนองโดยไม่มีสิ่งคุกคามภายนอก และนอกจากนี้ความกลัวยังเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการหลบหนีหรือหลีกเลี่ยง ในขณะที่ความกังวลเกิดขึ้นเป็นผลของการถูกจากภัยคุกคามที่รับรู้ว่าไม่สามารถควบคุมไม่ได้หรือหลีกเลี่ยงไม่ได้<ref>OhmanÖhman, A. (2000). "Fear and anxiety: Evolutionary, cognitive, and clinical perspectives". In M. Lewis & J. M. Haviland-Jones (Eds.). ''Handbook of emotions''. (pp.573- 573–593). New York: The Guilford Press.</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==