ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศิลาโรเซตตา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link FA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์File:rosettaRosetta stoneStone.jpgJPG|thumb|200250px|right|thumb|ศิลาโรเซตตาในบริติชมิวเซียม]]
 
'''ศิลาโรเซตตา''' ({{lang-en|Rosetta Stone}}) เป็น[[ศิลาจารึก]]ทำจากหิน[[granodiorite|แกรนด์โอไดโอไรต์]] จารึก[[กฤษฎีกาโรเซตตา|กฤษฎีกา]]ซึ่งตราขึ้นในนามพระเจ้า[[Ptolemy V Epiphanes|ทอเลอมีที่ 5]] (Ptolemy V) ณ เมือง[[Memphis, Egypt|เมมฟิส]] [[ประเทศอียิปต์]] เมื่อ 196 ปีก่อน ค.ศ. กฤษฎีกานี้เขียนด้วยอักขระ 3 ชนิด ตอนต้นเขียนด้วยอักขระ[[ไฮเออโรกลีฟอียิปต์]] ตอนกลางเขียนด้วยอักขระ[[Demotic (Egyptian)|ดีมอติกอียิปต์]] และตอนท้ายเขียนด้วยอักขระ[[กรีกโบราณ]] ทั้ง 3 ตอนมีเนื้อหาอย่างเดียวกัน ศิลานี้จึงเป็นกุญแจไขสู่ความหมายของอักขระ[[ไฮเออโรกลีฟอียิปต์]]
'''ศิลาโรเซตตา''' ({{lang-en|Rosetta}}) เป็น[[หินแกรนิต]]สีเทาเข้มแกมชมพู (เดิมคิดว่ามีส่วนประกอบของ[[หินบะซอลต์]]) เป็น[[ศิลาจารึก]] 2 ภาษา คือ[[ภาษาอียิปต์]] และ[[ภาษากรีก]] โดยใช้อักษร 3 แบบ คือ [[อักษรภาพอียิปต์]] [[อักษรเดโมติก]]ของกรีก (ก่อนคริตสกาล 520 ปี) และ[[อักษรกรีก]] นับเป็นจารึกที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการศึกษาประวัติศาสตร์และภาษาอียิปต์โบราณ เนื่องจากนักโบราณคดีรู้ภาษากรีก ทำให้สามารถไขความหมายจากอักษรอื่น ๆ ซึ่งจารึกไว้โดยมีเนื้อความอย่างเดียวกันได้
 
เชื่อกันว่า ศิลานี้เดิมตั้งแสดงไว้ที่[[วัดอียิปต์]]แห่งหนึ่งซึ่งน่าจะอยู่ใกล้เมือง[[Sais, Egypt|เซอีส]] ต่อมาในราว[[[[Early Christianity|ต้นคริสตกาล]]หรือราว[[Middle Ages|มัชฌิมยุค]] มีการย้ายศิลาไปที่อื่น และในที่สุดมีการใช้ศิลานี้เป็นวัสดุก่อสร้าง[[Fort Julien|ปราการจูเลียน]]ใกล้เมือง[[Rosetta|โรเซตตา]]ที่[[Nile Delta|ดินดอนสามเหลี่ยมแม่น้ำไนล์]] ครั้นปี 1799 [[Pierre-François Bouchard|ปิแยร์-ฟร็องซัว บูชาร์]] (Pierre-François Bouchard) นายทหารชาวฝรั่งในกองทัพของ[[นโปเลียน]]ที่[[French Campaign in Egypt and Syria|เข้ารุกรานอียิปต์และซีเรีย]] พบศิลานี้เข้า นับเป็นจารึกสองภาษาจากสมัยอียิปต์โบราณจารึกแรกที่ค้นพบในสมัยปัจจุบัน จึงกระตุ้นความสนใจของสาธารณชนอย่างกว้างขวาง และก่อให้เกิดความพยายามถอดความหมายภาษาอียิตป์โบราณอันเป็นภาษาที่ไม่เคยได้รับการแปลความหมายมาก่อน ฉะนั้น นักวิชาการและพิพิธภัณฑ์ในยุโรปจึงเริ่มคัดลอกเนื้อความของศิลาออกเผยแพร่ ขณะนั้น [[กองทัพอังกฤษ]]เอาชัยชนะเหนือกองทัพฝรั่งเศสในประเทศอียิปต์ได้ในปี 1801 ครั้นฝรั่งเศส[[Capitulation of Alexandria (1801)|ยอมจำนนที่อะเล็กซานเดรีย]]แล้ว อังกฤษจึงได้ศิลาไว้ในความครอบครอง และขนศิลาไปไว้ในกรุง[[ลอนดอน]] แล้วจัดแสดงแก่สาธารณชน ณ [[พิพิธภัณฑ์บริติช]]ตั้งแต่ปี 1802 เรื่อยมาจนปัจจุบัน ถือเป็นวัตถุที่มีผู้เข้าเยี่ยมชมบ่อยครั้งที่สุดในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้
ศิลานี้จารึกขึ้นเมื่อวันที่ 18 ของเดือนที่ 2 แห่งฤดูหนาว อันเป็นปีที่ 9 ของรัชกาล[[พระเจ้าปโตเลมีที่ 5]] (ตรงกับวันที่ 27 มีนาคม ปีที่ 196 ก่อนคริสตกาล) บรรดานักบวชแห่งเมืองเมมฟิส ได้มาชุมนุมและได้ออกประกาศซึ่งเฉลิมฉลองพระเกียรติยศในการขึ้นครองราชย์ของพระมหากษัตริย์ที่เพิ่งผ่านวันครบรอบ 14 พรรษา<ref>นิตยสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับปีที่ 29 ฉบับที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 หน้า 164</ref>
 
ส่วนการศึกษาเกี่ยวกับกฤษฎีกาบนศิลานั้นเริ่มขึ้นเมื่อมีการแปลเนื้อความภาษากรีกบนศิลาอย่างเต็มรูปแบบในปี 1803 จนราว 20 ปีให้หลัง คือ ในปี 1822 [[ฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง]] (Jean-François Champollion) ชาวฝรั่งเศส จึงแถลงในกรุง[[ปารีส]]ว่า สามารถอ่านอักขระอียิปต์ได้เป็นผลสำเร็จ อย่างไรก็ดี นับแต่ค้นพบศิลาหลักนี้เป็นต้นมา ตัวศิลานั้นตกเป็นข้ออ้างในความขัดแย้งทางชาตินิยมหลายต่อหลายครั้ง และนับแต่ปี 2003 สืบมา มีการเรียกร้องอยู่เสมอว่า ให้คืนศิลากลับสู่อียิปต์
ศิลาโรเซตตาได้ขุดค้นพบที่เมืองโรเซตตา (ปัจจุบันคือเมืองราชิด) [[ประเทศอียิปต์]] เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2342 (ค.ศ. 1799) โดยกองทัพฝรั่งเศสนำโดย[[นโปเลียน โบนาปาร์ต]]บุกยึดครองอียิปต์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2365 (ค.ศ. 1822) ชาวฝรั่งเศสผู้หนึ่งชื่อ [[ชอง-ฟรองซัวส์ ชอมโปลิยง]] (Jean-François Champollion) ได้ไขความลับ[[อักษรภาพอียิปต์]]ได้ ซึ่งสามารถถือได้ว่าเป็นปฐมบทสมัยใหม่ของ[[ไอยคุปต์วิทยา]]ก็ว่าได้<ref> ไบรอัน แฟรแกน, คุณากร วาณิชย์วิรุฬ, '''อียิปต์ ปฐพีแห่งฟาโรห์''', อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2548 </ref>
 
อนึ่ง ภายหลังยังมีการค้นพบกฤษฎีกา 2 ฉบับ ซึ่งเป็นฉบับคัดลอกของกฤษฎีกาข้างต้น แต่มีเนื้อความไม่เต็ม ทั้งมีการค้นพบจารึกอียิปต์ที่มีเนื้อหา 2 หรือ 3 ภาษา เป็นต้นว่า [[Ptolemaic Decrees|กฤษฎีกาทอเลอมี]] ที่บางฉบับมีอายุเก่ากว่าศิลาโรเซตตาเล็กน้อย เช่น [[Decree of Canopus|กฤษฎีกาคาโนปัส]] (238 ปีก่อน ค.ศ.) และ[[Decree of Memphis (Ptolemy IV)|กฤษฎีกาเมมฟิส]] (ราว 218 ปีก่อน ค.ศ.) ศิลาโรเซตตาจึงไม่เป็นของพิเศษอีกต่อไป
ศิลาโรเซตตานี้ถูกนำไปจัดแสดงไว้ใน[[พิพิธภัณฑ์อังกฤษ]] [[ประเทศอังกฤษ]] นับตั้งแต่ พ.ศ. 2345 (ค.ศ. 1802) เป็นต้นมา โดยเว้นอยู่ช่วงหนึ่งเท่านั้น ครั้นปลายสมัย[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] เมื่อ [[พ.ศ. 2460]] (ค.ศ. 1917) ทางพิพิธภัณฑ์กังวลว่าจะมีการระเบิดอย่างหนักในกรุงลอนดอน จึงได้ย้ายจารึกนี้ไปยังสถานที่ปลอดภัย พร้อมกับวัตถุสำคัญอื่นๆ ที่สามารถจะเคลื่อนย้ายได้สะดวก อีกสองปีต่อมา จารึกนี้ได้อยู่ในสถานีรถไฟใต้ดินโพสทัลบูบ ซึ่งลึกลงไป 50 ฟุต ที่เมืองโฮลบอร์น
 
จารึกแท่งนี้มีความสูง 114.4 เซนติเมตร ปลายยอดแหลม มีความกว้าง 72.3 เซนติเมตร และหนา 27.3 เซนติเมตร หนัก 762 กิโลกรัม
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}