ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธาตุกึ่งโลหะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khuneiif (คุย | ส่วนร่วม)
Khuneiif (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 89:
สารหนูสามารถผสมกับโลหะรวมทั้ง[[แพลตตินัม]]และ[[ทองแดง]] เพื่อปรับปรุงความต้านทานการกัดกร่อน แมกนีเซียม พลวง ดีบุก เทลลูเรียมผสมกับโลหะใช้ในการหล่อเหล็ก
 
=== การควบคุมโดยชีววิธี ===
=== สารชีวภาพ ===
ธาตุกึ่งโลหะทั้ง 6 ธาตุ มีการยอมรับว่า มีคุณสมบัติใช้เป็นยารักษาโรคและป้องกันสารพิษ สารหนูและพลวง เป็นสารที่เป็นพิษ แต่สามารถใช้ในวงการแพทย์เช่นเดียวกับโบรอน ซิลิกอน เจอร์เมเนียม
โบรอนใช้เป็นยาฆ่าแมลง <ref>[[Emsley 2001, p. 67]]</ref> สารเคมีกำจัดวัชพืช เป็นสารบอริกที่มีอยู่น้ำยาฆ่าเชื้อราและมีคุณสมบัติต้านไวรัส
ซิลิกอนที่มีอยู่ในไซลาเทรน เป็นสารพิษที่ใช้ในสารกำจัดหนู <ref>[[Büchel 1983, p. 226]]</ref> ถ้าสูดดมระยะยาวจะทำให้เกิดโรคร้ายแรงที่เกี่ยวกับปอด ซิลิกอนจึงเป็นธาตุที่จำเป็น <ref>[[Emsley 2001, p. 67]]</ref> ซิลิโคนเจล สามารถนำมาใช้กับผู้ที่ถูกไฟไหม้เพื่อลดรอยแผลเป็น <ref>[[Emsley 2001, p. 391]]</ref>
เกลือของเจอร์เมเนียมอาจเป็นอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์ ถ้ากินเป็นเวลานาน <ref>[[Schauss 1991; Tao & Bolger 1997]]</ref> สารหนูใช้เป็นยามาตั้งแต่สมัยโบราณ รวมทั้งยังรักษาโรคซิฟิลิสก่อนที่จะพัฒนาเป็นยาปฏิชีวนะ <ref>[[Jaouen & Gibaud 2010]]</ref> สารหนูยังเป็นส่วนประกอบของยาสมุนไพรที่ใช้ในการรักษาโรค
ในปี ค.ศ.2003 ออกไซด์สารหนูเป็นที่รู้จักสำหรับการรักษาโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน มะเร็งไขกระดูก <ref>[[Jaouen & Gibaud 2010]]</ref> สารหนูที่มีอยู่ในน้ำดื่มจะเป็นสาเหตุของโรคปอดและมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ <ref>[[Smith et al. 2014]]</ref>
พลวง เป็นสารที่ค่อนข้างเป็นพิษ ถูกนำมาใช้เป็นสารเสพติด <ref>[[Sneader 2005, pp. 57–59]]</ref>
ธาตุเทลลูเลียม เมื่อพิจารณาลักษณะเฉพาะแล้วไม่มีพิษ เมื่อรวมกับโซเดียม 2 กรัมจะได้เป็นเทลลิวเรท เมื่อเป็นยาจะสามารถทำให้ตายได้ <ref>[[Keall, Martin and Tunbridge 1946]]</ref> คนที่สัมผัสกับธาตุเทลลูเลียมในอากาศจะได้กลิ่นเหมือนกระเทียม <ref>[[Emsley 2001, p. 426]]</ref> เทลลูเลียมใช้ในการรักษาโรคผิวหนัง ส่วนสารประกอบเทลลูเลียมอื่นๆถูกนำมาใช้เป็นยาต้านจุลชีพ ก่อนที่จะพัฒนามาเป็นยาปฏิชีวนะ <ref>[[Oldfield et al. 1974, p. 65; Turner 2011]]</ref> ในอนาคตสารดังกล่าวจะต้องมีการใช้แทนยาปฏิชีวนะ มีผลมาจากการต้านทานเชื้อแบคทีเรีย <ref>[[Ba et al. 2010; Daniel-Hoffmann, Sredni & Nitzan 2012; Molina-Quiroz et al. 2012]]</ref> เบริลเลียมและตะกั่ว มีองค์ประกอบที่ได้รับการยอมรับแต่น้อยกว่าธาตุกึ่งโลหะว่าเป็นพิษที่ใช้เป็นยาฆ่าแมลง <ref>[[Peryea 1998]]</ref> ซัลเฟอร์ เป็นธาตุที่เก่าแก่ที่สุดของสารฆ่าเชื้อและสารกำจัดศัตรูพืช ฟอสฟอรัส,กำมะถัน,สังกะสี,ซิลิเนียม เป็นสารอาหารที่สำคัญในการบำรุงและอะลูมิเนียม,ดีบุก ใช้เป็นตัวนำไฟฟ้า <ref>[[Nielsen 1998]]</ref> กำมะถัน,เกลเลียม,ซิลิเนียม,ไอโอดีนและบิสมัท มีคุณสมบัติใช้เป็นยา กำมะถัน มีองค์ประกอบของยารักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย รักษาโรคเบาหวาน รักษาและป้องกันโรคลมชัก ในขณะเดียวกันยังใช้เพื่อรักษาสิวและเกี่ยวกับการติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะ <ref>[[Hager 2006, p. 299]]</ref> เกลเลียม,ไนโตรเจน ใช้ในการรักษาผลข้างเคียงของโรคมะเร็ง <ref>[[Apseloff 1999]]</ref> เกลเลียม,ซิเตรต เป็นสารเภสัชรังสี ทำให้เห็นภาพสะท้อนของการอักเสบของร่างกาย <ref>[[Trivedi, Yung & Katz 2013, p. 209]]</ref> ซิลิเนียม,ซัลเฟอร์ มีคุณสมบัติเป็นยา ไอโอดีน ใช้เป็นสารที่ฆ่าเชื้อโรคในรูปแบบต่างๆ บิสมัท เป็นส่วนผสมในยาที่ต้านฤทธิ์ของแบคทีเรีย <ref>[[Thomas, Bialek & Hensel 2013, p. 1]]</ref>
 
=== ตัวเร่งปฏิกิริยา ===