ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟูกูชิมะแห่งที่หนึ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 205:
ในรายงานตามโครงการการวิเคราะห์อุบัติเหตุแบบ Modular (MAAP) ของ TEPCO ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนปี 2011 ประมาณการเพิ่มเติมจะทำกับสถานะและตำแหน่งเชื้อเพลิง<ref name="tepco6"/> รายงานสรุปว่า RPV ในยูนิตที่ 1 ได้รับความเสียหายในช่วงที่เกิดภัยพิบัติและว่า "จำนวนมาก" ของเชื้อเพลิงที่หลอมละลาย (Corium) ได้ตกลงเข้าสู่ด้านล่างของ PCV - ทำให้เกิดการสึกกร่อนของคอนกรีตของ PCV หลังจากการล่มสลายของแกนกลางที่คาดว่าจะหยุดที่ความลึกประมาณ 0.7 เมตร (2 ฟุต 4 นิ้ว) ในขณะที่ความหนาของอ่างบรรจุคือ 7.6 เมตร (25 ฟุต) การเก็บตัวอย่างก๊าซที่ทำมาก่อนรายงานนี้ได้ตรวจไม่พบสัญญาณของการเกิดปฏิกิริยาต่อเนื่องของเชื้อเพลิงกับคอนกรีตของ PCV และเชื้อเพลิงทั้งหมดในยูนิตที่ 1 คาดว่าจะ "ระบายความร้อนได้ดี รวมทั้งเชื้อเพลิงที่หยดลงที่ด้านล่างของเครื่องปฏิกรณ์"
 
ยิ่งกว่านี้ รายงานของ MAAP ในปี 2011 แสดงให้เห็นว่าเชื้อเพลิงยูนิตที่ 2 และที่ 3 มีการละลาย แต่ก็ยังน้อยกว่ายูนิตที่ 1 และสันนิษฐานว่าเชื้อเพลิงยังคงอยู่ใน RPV ที่มีจำนวนไม่มากของเชื้อเพลิงได้ตกลงไปด้านล่างของ PCV รายงานต่อไปแนะนำว่า "มีช่วงของผลลัพท์ผลลัพธ์ในการประเมินผล" จาก "เชื้อเพลิงทั้งหมดใน RPV (ไม่ได้ตกลงไป PCV เลย)" ในยูนิตที่ 2 และยูนิตที่ 3 ไปจนถึง "เชื้อเพลิงส่วนใหญ่ใน RPV (เชื้อเพลิงบางส่วนใน PCV)" สำหรับยูนิตที่ 2 และยูนิตที่ 3 คาดว่า "เชื้อเพลิงจะเย็นพอ" ความเสียหายในขนาดใหญ่กว่าในยูนิตที่ 1 เมื่อเทียบกับอีกสองยูนิตเป็นไปตามรายงานเนื่องจากไม่มีน้ำหล่อเย็นถูกฉีดเข้าไปในยูนิตที่ 1 เป็นเวลาที่นานกว่า ซึ่งส่งผลให้เกิด decay heat มีการสะสมอย่างมากมาย - ประมาณ 1 วันที่ไม่มีน้ำฉีดสำหรับยูนิตที่ 1 ในขณะที่หน่วยที่ 2 และ 3 หน่วยมีเพียงหนึ่งในสี่ของวันที่ไม่มีการฉีดน้ำ
 
ในพฤศจิกายน 2013 Mari Yamaguchi รายงานข่าวให้กับสำนักข่าว Associated Press ว่ามีการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์ซึ่งชี้ให้เห็นว่า "เชื้อเพลิงที่หลอมละลายในยูนิตที่ 1 ซึ่งเป็นยูนิตที่แกนกลางมีความเสียหายอย่างกว้างขวางมากที่สุดได้ทำลายด้านล่างของอ่างบรรจุหลักและแม้กระทั่งได้กินบางส่วนของรากฐานคอนกรีตเข้าไปประมาณ 30 เซนติเมตร (1 ฟุต) ทำให้เกิดการรั่วไหลลงไปในพื้นดิน"- วิศวกรนิวเคลียร์มหาวิทยาลัยเกียวโตคนหนึ่งกล่าวเกี่ยวข้องกับการประมาณการเหล่านี้ว่า " เราแค่ไม่แน่ใจจนกว่าเราจะได้เห็นของจริงภายในของเครื่องปฏิกรณ์"<ref name="phys"/>
บรรทัด 219:
บทความหลัก: Fukushima Daiichi หน่วยที่ 4, 5 และ 6
 
[[Fileไฟล์:Fukushima I NPP 1975 medium crop rotated labeled.jpg|thumb|มุมมองทางอากาศของโรในงไฟฟ้าปี 1975 แสดงให้เห็นถึงการแยกกันระหว่างหน่วยที่ 5 และ 6 และหน่วยที่ 1-4<br>·หน่วยที่ 6 ยังไม่แล้วเสร็จจนกว่าจะถึงปี 1979 จะเห็นได้ระหว่างการก่อสร้าง]]
 
==== หน่วยที่ 4 ====