ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซูเปอร์แฟมิคอม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link FA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Pory (คุย | ส่วนร่วม)
คำว่า เกม ไม่มี ส์
บรรทัด 19:
หรือชื่อที่วางจำหน่ายใน[[สหรัฐอเมริกา]]คือ '''Super Nintendo Entertainment System''' (SNES) เป็น[[เครื่องเล่นวิดีโอเกม]]ของบริษัท[[นินเทนโด]]
 
ซูเปอร์แฟมิคอมเป็นเครื่องเล่นเกมรุ่นที่สองของนินเทนโด (นับเป็น[[เครื่องเล่นวิดีโอเกมยุคที่สี่]]) ถัดจาก[[แฟมิคอม]]เครื่องซูเปอร์แฟมิคอมเป็นเครื่องเกมส์เกมคอนโซลแบบ 16 บิทที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในยุคนั้น สามารถเอาชนะคู่แข่งอย่างเครื่องเมกะไดรฟ์ของเซก้าได้ แม้แต่หลังจากที่ยุคของเกมส์เกม 16 บิทจะสิ้นสุดลงไปนานแล้ว เครื่องซูเปอร์แฟมิคอมก็ยังเป็นที่นิยมของนักสะสม และนักพัฒนาอีมูเลเตอร์
 
== ประวัติ ==
ในปี 1988 [[เซก้า]]ได้ผลิตเครื่องเล่นเกมส์เกม 16 บิทรุ่นใหม่ที่ชื่อ"เมกะไดรฟ์"ออกวางตลาด เครื่องเมกะไดรฟ์มีประสิทธิภาพสูงกว่าเครื่อง[[แฟมิคอม]]ของนินเทนโด ในช่วงแรกทางนินเทนโดยังลังเลที่จะเริ่มโครงการพัฒนาเครื่องเกมส์เกมรุ่นใหม่ แต่ในที่สุดก็ตัดสินใจพัฒนาเครื่องเกมส์เกมรุ่นใหม่มาทดแทนเครื่องแฟมิคอมที่เริ่มจะล้าสมัยแล้ว
 
เครื่องซูเปอร์นินเทนโดออกแบบโดยนาย มาซายูกิ อุเอมูระ ผู้ซึ่งเป็นผู้พัฒนาเครื่องแฟมิคอม และเครื่องซูเปอร์นินเทนโดได้ออกวางจำหน่ายในญี่ปุ่นเป็นครั้งแรกในปีค.ศ. 1990 ในราคา 25,000 เยน ซึ่งการวางขายก็ได้ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็ว สามารถขายได้ถึง 300,000 เครื่องภายในไม่กี่ชั่วโมงแรก สร้างกระแสในประเทศญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก เครื่องซูเปอร์แฟมิคอมขายดีมากจนถึงกับไปดึงดูดความสนใจของพวก[[ยากูซ่า]] ทำให้ทางนินเทนโดถึงกับต้องตัดสินใจเลื่อนย้ายสินค้าในตอนกลางคืนเพื่อป้องกันการปล้นชิงเลยทีเดียว ความสำเร็จอย่างล้นหลามนี้ ทำให้นินเทนโดยังคงรักษาตำแหน่งผู้นำในวงการอุตสาหกรรมวิดีโอเกมส์เกมเอาไว้ได้ เครื่องซูเปอร์นินเทนโดออกวางขายในอเมริกาในปี 1991 โดยทางนินเทนโดได้ออกแบบรูปร่างของเครื่องใหม่ และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น ซูเปอร์ นินเทนโด เอนเตอร์เทนเม้นท์ ซิสเทม (SNES)ซึ่งก็ประสบความสำเร็จอย่างสูงเช่นกัน
 
== สงครามคอนโซล ==
การมาถึงของเครื่องซูเปอร์นินเทนโดก่อให้เกิดการแข่งขันกันระหว่างนินเทนโดและเซก้า ซึ่งกล่าวกันว่าเป็นสงครามคอนโซลที่ดุเดือดมากที่สุดในประวัติศาสตร์อุตสาหกรรมเกมส์เกมคอนโซล เซก้าได้เจาะกลุ่มตลาดวัยรุ่นโดยมุ่งหมายให้เครื่องเมกะไดรฟ์ของตนมีเกมส์เกมที่เจาะกลุ่มตลาดที่เป็นผู้ใหญ่กว่า และดีไซน์และเน้นความ"เท่ห์" ยอดขายของเครื่องซูเปอร์นินเทนโดและเมกะไดรฟ์เสมอกันในเดือนกุมภาพันธ์ปี 1992 <ref>[http://archive.is/20120604150552/findarticles.com/p/articles/mi_m3092/is_n11_v31/ai_12243994 16-bit games take a bite out of sales - computer games]</ref> โดยที่ไม่มีใครเป็นผู้นำตลาดอย่างถาวรเป็นเวลาหลายปี จนในที่สุดนินเทนโดก็เป็นผู้ชนะ สามารถครอบครองตลาดเครื่องเกมคอนโซลของประเทศสหรัฐอเมริกาไว้ได้<ref>[http://www.pcworld.com/printable/article/id,128295/printable.html A Brief History of Game Consoles]</ref>
 
== SNES-CD ==
เมื่อยุคของสื่อบันทึกข้อมูลด้วย CD-ROM มาถึง ทางนินเทนโดได้ให้ความสนใจกับสื่อบันทึกชนิดใหม่นี้ จนเมื่อบริษัทคู่แข่งอย่างเซก้า ได้ออกอุปกรณ์เสริมที่ทำให้เครื่องเมกะไดรฟ์เล่นเกมส์เกมจากCDได้ที่ชื่อ SEGA-CD ขึ้นมา ทางนินเทนโดจึงมีความต้องการพัฒนาอุปกรณ์เสริมสำหรับเล่น CD ของตนขึ้นมาบ้าง ทางนินเทนโดได้ติดต่อกับบริษัทเครื่องใช้ไฟฟ้าชั้นนำอย่าง[[โซนี่]]และฟิลิปในการร่วมทุนกันพัฒนาอุปกรณ์เสริมดังกล่าว แต่การร่วมทุนพัฒนากับทั้ง 2 บริษัทต่างก็ประสบความล้มเหลวทั้งคู่ นินเทนโดจึงจึงหันไปทุ่มเทความสนใจให้กับการพัฒนาเครื่องเกมส์เกมรุ่นใหม่ที่ใช้ตลับอย่างเครื่อง[[นินเทนโด 64]]แทน แต่การเข้าร่วมทุนพัฒนาที่ไม่สำเร็จนี้ได้เป็นจุดกำเนิดเครื่องเกมส์เกมคอนโซลยุคใหม่ 2 เครื่อง บริษัทโซนี่ได้เอาสิ่งที่เหลือจากการพัฒนาที่ล้มเหลวมาพัฒนาต่อเป็นเครื่อง[[เพลย์สเตชัน]] ส่วนทางฟิลิปก็ได้พัฒนาเครื่อง [[CD-I]] ขึ้นมา<ref>[http://www.n-sider.com/contentview.php?contentid=231 Sony to Play Games]</ref>
 
== ยอดจำหน่าย ==
เครื่องซูเปอร์แฟมิคอมขายได้ 49.10 ล้านเครื่องทั่วโลก โดยในอเมริกาขายได้ 23.35 ล้านเครื่อง ในญี่ปุ่นขายได้ 17.17 ล้านเครื่อง เป็นเครื่องเกมส์เกมคอนโซลที่ขายดีที่สุดในยุคนั้น โดยเครื่องเกมส์เกมที่มียอดขายรองลงมาคือเครื่องเมก้าไดรฟ์และ TurboGrafx-16
 
== อ้างอิง ==