ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟูกูชิมะแห่งที่หนึ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
| caption2 = โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศญี่ปุ่น
}}
'''ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ''' ({{lang-en|Fukushima Daiichi nuclear disaster}}) เป็นอุบัติเหตุด้านพลังงานที่เกิดขึ้นที่[[โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ]] หมายเลข I ที่เป็นผลเบื้องต้นมาจาก[[คลื่นสึนามิ]]หลังจากเหตุการณ์[[แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554]] ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม [[ค.ศ. 2011]]<ref name=":18">Phillip Lipscy, Kenji Kushida, and Trevor Incerti. 2013. "[http://www.stanford.edu/~plipscy/LipscyKushidaIncertiEST2013.pdf The Fukushima Disaster and Japan’s Nuclear Plant Vulnerability in Comparative Perspective]." ''Environmental Science and Technology'' 47 (May), 6082-6088.</ref> คลื่นสึนามิสร้างความเสียหายให้กับอุปกรณ์ และเมื่อปราศจากอุปกรณ์ดังกล่าวทำให้เครื่องปฏิกรณ์ 3 เครื่องในจำนวน 6 เครื่องขาดสารหล่อเย็น ความร้อนที่สูงอย่างยิ่งยวดทำให้เกิดการหลอมละลาย ({{lang-en|nuclear meltdown}}) และปลดปล่อยสารกัมมันตรังสีออกมาเริ่มต้นเมื่อวันที่ 12 มีนาคม<ref>{{cite web|title=Explainer: What went wrong in Japan's nuclear reactors|url=http://spectrum.ieee.org/tech-talk/energy/nuclear/explainer-what-went-wrong-in-japans-nuclear-reactors|work=IEEE Spectrum|date=4 April 2011}}</ref> ภัยพิบัติด้านนิวเคลียร์ครั้งนี้เป็นครั้งที่รุนแรงที่สุดนับตั้งแต่[[ภัยพิบัติเชอร์โนบิล]]เมื่อปี 1986 และเป็นอันดับที่สองรองจากเชอร์โนบิลที่ระดับ 7 ตามการจัดอันดับของมาตรวัดเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์ระหว่างประเทศ ({{lang-en|International Nuclear Event Scale}}) แต่มีความซับซ้อนกว่าเนื่องจากเครื่องปฏิกรณ์ทั้งหมดได้รับผลกระทบ<ref>[http://in.ibtimes.com/articles/132391/20110409/japan-nuclear-crisis-radiation.htm "Analysis: A month on, Japan nuclear crisis still scarring"] ''International Business Times'' (Australia). 9 April 2011, retrieved 12 April 2011; excerpt, According to [[James M. Acton|James Acton]], Associate of the Nuclear Policy Program at the Carnegie Endowment for International Peace, "Fukushima is not the worst nuclear accident ever but it is the most complicated and the most dramatic...This was a crisis that played out in real time on TV. Chernobyl did not."</ref> ได้มีการปลดปล่อยกัมมันตรังสี 10 ถึง 30% ของที่เชอร์โนบิล<ref name="Frank N. von Hippel 27–36"/>
 
โรงไฟฟ้าประกอบด้วยเครื่องปฏิกรณ์แบบน้ำเดือด ({{lang-en|[[boiling water reactor]]}}) 6 เครื่องแยกจากกัน ซึ่งแต่เดิมได้รับการออกแบบโดยบริษัท General Electric (GE) และได้รับการบำรุงรักษาโดยบริษัท Tokyo Electric Power Company (TEPCO) ขณะที่เกิดแผ่นดินไหวขึ้นนั้น เครื่องปฏิกรณ์ที่ 4 5 และ 6 ถูกดับเครื่อง ({{lang-en|shut down}}) เพื่อเตรียมการเติมเชื้อเพลิง<ref>{{Cite news|author=Black, Richard |url=http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-12745186 |title= Reactor breach worsens prospects |work=BBC Online |date=15 March 2011 |accessdate=23 March 2011}}</ref> อย่างไรก็ตาม บ่อเชื้อเพลิงใช้แล้ว ({{lang-en|spent fuel pools}}) ของเครื่องปฏิกรณ์เหล่านั้นยังต้องการหล่อเย็น<ref name="web.archive.org">[https://web.archive.org/web/20110607091828/http://www.iaea.org/press/?p=1463 IAEA press release Japanese Earthquake Update (19 March 2011, 4:30 UTC) 19 March 2011. Archive.org]</ref> ทันทีหลังจากการเกิดแผ่นดินไหว ไฟฟ้าที่ผลิตจากเครื่องปฏิกรณ์ที่ 1, 2 และ 3 เริ่มกระบวนการชัตดาวน์[[ปฏิกริยาฟิชชั่น]]ที่ยั่งยืนของพวกมันโดยอัตโนมัติ โดยการสอดใส่แท่งควบคุม ({{lang-en|control rods}}) ตามขั้นตอนที่เรียกว่า SCRAM (Safety Control Rods Activator Mechanism (SCRAM))) ขบวนการนี้เป็น "การปลอดภุยไว้ก่อน" ที่ได้รับฉันทานุมัติตามกฏหมายซึ่งจะหยุด ''สภาวะการทำงานปกติ'' ของเครืองปฏิกรณ์ หลังจากนั้น เครื่องปฏิกรณ์จะไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อขับปั้มสารหล่อเย็นของตัวมันเอง เครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินจะเริ่มผลิตพลังงานไฟฟ้าตามที่ออกแบบไว้เพื่อจ่ายให้ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส์และสารหล่อเย็น ทุกระบบทำงานได้ดีจนกระทั่งคลื่นสึนามิทำลายเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำหรับเครื่องปฏิกรณ์ตัวที่ 1 ถึง 5 เนื่องจากตำแหน่งที่ตั้งของมันอยู่บนพื้นที่ต่ำและไม่ได้ถูกบดจนแข็ง เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 2 ตัวที่ระบายความร้อนให้กับเครื่องปฏิกรณ์ตัวที่ 6 ไม่ได้รับความเสียหายและมีความสามารถเพียงพอที่จะได้รับความกดดันให้ทำงานหล่อเย็นเครื่องปฏิกรณ์ตัวที่ 5 ที่อยู่ใกล้เคียงได้อีกด้วย ซึ่งเป็นการหันเหปัญหาความร้อนสูงเกินที่เครื่องปฏิกรณ์ตัวที่ 4 ที่กำลังทนทุกข์ทรมานอยู่<ref name="web.archive.org"/>