ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟูกูชิมะแห่งที่หนึ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
| caption2 = โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศญี่ปุ่น
}}
'''ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ''' ({{lang-en|Fukushima Daiichi nuclear disaster}}) เป็นเหตุการณ์ที่อุปกรณ์เครื่องมือขัดข้องและปลดปล่อยสารกัมมันตรังสีอุบัติเหตุด้านพลังงานที่เกิดขึ้นที่[[โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ]] I ที่เป็นผลเบื้องต้นมาจาก[[คลื่นสึนามิ]]หลังจากเหตุการณ์[[แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554]] ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ดังกล่าวประกอบด้วย[[เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำเดือดค.ศ. 2011]]<ref name=":18">Phillip Lipscy, Kenji Kushida, and Trevor Incerti. 2013. "[http://www.stanford.edu/~plipscy/LipscyKushidaIncertiEST2013.pdf The Fukushima Disaster and Japan’s Nuclear Plant Vulnerability in Comparative Perspective]." ''Environmental Science and Technology'' 47 (May), 6082-6088.</ref> คลื่นสึนามิสร้างความเสียหายให้กับอุปกรณ์ และเมื่อปราศจากอุปกรณ์ดังกล่าวทำให้เครื่องปฏิกรณ์ 3 เครื่องในจำนวน 6 เครื่องแยกกันขาดสารหล่อเย็น บำรุงรักษาโดยบริษัทผลิตไฟฟ้าโตเกียวความร้อนที่สูงอย่างยิ่งยวดทำให้เกิดการหลอมละลาย (TEPCO{{lang-en|nuclear meltdown}}) ผู้เชี่ยวชาญมองว่าและปลดปล่อยสารกัมมันตรังสีออกมาเริ่มต้นเมื่อวันที่ 12 มีนาคม<ref>{{cite web|title=Explainer: What went wrong in Japan's nuclear reactors|url=http://spectrum.ieee.org/tech-talk/energy/nuclear/explainer-what-went-wrong-in-japans-nuclear-reactors|work=IEEE Spectrum|date=4 April 2011}}</ref> ภัยพิบัติด้านนิวเคลียร์ครั้งนี้เป็นครั้งที่รุนแรงที่สุดเป็นอันดับที่สองตามหลังนับตั้งแต่[[อุบัติภัยภัยพิบัติเชอร์โนบิล]]เมื่อปี 1986 และเป็นอันดับที่สองรองจากเชอร์โนบิลที่ระดับ 7 ตามการจัดอันดับของมาตรวัดเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์ระหว่างประเทศ ({{lang-en|International Nuclear Event Scale}}) แต่มีความซับซ้อนกว่าเนื่องจากเครื่องปฏิกรณ์ทั้งหมดได้รับผลกระทบ<ref>[http://in.ibtimes.com/articles/132391/20110409/japan-nuclear-crisis-radiation.htm "Analysis: A month on, Japan nuclear crisis still scarring,"] ''International Business Times'' (Australia). 9 April 2011, retrieved 12 April 2011; excerpt, According to [[James M. Acton|James Acton]], Associate of the Nuclear Policy Program at the Carnegie Endowment for International Peace, "Fukushima is not the worst nuclear accident ever but it is the most complicated and the most dramatic...This was a crisis that played out in real time on TV. Chernobyl did not."</ref> ได้มีการปลดปล่อยกัมมันตรังสี 10 ถึง 30% ของที่เชอร์โนบิล<ref name="Frank N. von Hippel 27–36"/>
 
โรงไฟฟ้าประกอบด้วยเครื่องปฏิกรณ์แบบน้ำเดือด ({{lang-en|[[boiling water reactor]]}}) 6 เครื่องแยกจากกัน ซึ่งแต่เดิมได้รับการออกแบบโดยบริษัท General Electric (GE) และได้รับการบำรุงรักษาโดยบริษัท Tokyo Electric Power Company (TEPCO) ขณะที่เกิดแผ่นดินไหวขึ้นนั้น เครื่องปฏิกรณ์ที่ 4 5 และ 6 ถูกดับเครื่อง ({{lang-en|shut down}}) เพื่อเตรียมการเติมเชื้อเพลิง<ref>{{Cite news|author=Black, Richard |url=http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-12745186 |title= Reactor breach worsens prospects |work=BBC Online |date=15 March 2011 |accessdate=23 March 2011}}</ref> อย่างไรก็ตาม บ่อเชื้อเพลิงใช้แล้ว ({{lang-en|spent fuel pools}}) ของเครื่องปฏิกรณ์เหล่านั้นยังต้องการหล่อเย็น<ref name="web.archive.org">[https://web.archive.org/web/20110607091828/http://www.iaea.org/press/?p=1463 IAEA press release Japanese Earthquake Update (19 March 2011, 4:30 UTC) 19 March 2011. Archive.org]</ref> ทันทีหลังจากการเกิดแผ่นดินไหว ไฟฟ้าที่ผลิตจากเครื่องปฏิกรณ์ที่ 1, 2 และ 3 เริ่มกระบวนการชัตดาวน์[[ปฏิกริยาฟิชชั่น]]ที่ยั่งยืนของพวกมันโดยอัตโนมัติ โดยการสอดใส่แท่งควบคุม ({{lang-en|control rods}}) ตามขั้นตอนที่เรียกว่า SCRAM (Safety Control Rods Activator Mechanism (SCRAM))) ขบวนการนี้เป็น "การปลอดภุยไว้ก่อน" ที่ได้รับฉันทานุมัติตามกฏหมายซึ่งจะหยุด ''สภาวะการทำงานปกติ'' ของเครืองปฏิกรณ์ หลังจากนั้น เครื่องปฏิกรณ์จะไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อขับปั้มสารหล่อเย็นของตัวมันเอง เครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินจะเริ่มผลิตพลังงานไฟฟ้าตามที่ออกแบบไว้เพื่อจ่ายให้ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส์และสารหล่อเย็น ทุกระบบทำงานได้ดีจนกระทั่งคลื่นสึนามิทำลายเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำหรับเครื่องปฏิกรณ์ตัวที่ 1 ถึง 5 เนื่องจากตำแหน่งที่ตั้งของมันอยู่บนพื้นที่ต่ำและไม่ได้ถูกบดจนแข็ง เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 2 ตัวที่ระบายความร้อนให้กับเครื่องปฏิกรณ์ตัวที่ 6 ไม่ได้รับความเสียหายและมีความสามารถเพียงพอที่จะได้รับความกดดันให้ทำงานหล่อเย็นเครื่องปฏิกรณ์ตัวที่ 5 ที่อยู่ใกล้เคียงได้อีกด้วย ซึ่งเป็นการหันเหปัญหาความร้อนสูงเกินที่เครื่องปฏิกรณ์ตัวที่ 4 ที่กำลังทนทุกข์ทรมานอยู่<ref name="web.archive.org"/>
ขณะที่เกิดแผ่นดินไหวขึ้นนั้น เครื่องปฏิกรณ์ที่ 4 ถูกนำแท่งเชื้อเพลิงออก ส่วนเครื่องปฏิกรณ์ที่ 5 และ 6 ถูกดับเครื่องสนิทตามกำหนดบำรุงรักษา<ref>{{cite web|last=Black |first=Richard |url=http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-12745186 |title=BBC News - Reactor breach worsens prospects |publisher=BBC News |date=15 March 2011 |accessdate=23 March 2011}}</ref> เครื่องปฏิกรณ์ที่เหลือถูกปิดลงอัตโนมัติหลังจากเกิดแผ่นดินไหว และเครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินเริ่มผลิตพลังงานเพื่อทำงานอิเล็กทรอนิกส์ควบคุมและปั๊มน้ำที่จำเป็นสำหรับใช้ลดอุณหภูมิ โรงไฟฟ้าได้รับการป้องกันจาก[[กำแพงกันคลื่น]]ที่สามารถทนรับคลื่นสึนามิความสูง 5.7 เมตรได้ แต่คลื่นสึนามิที่เกิดขึ้นหลังจากแผ่นดินไหว 15 นาทีนั้น สูงถึง 14 เมตร<ref>{{cite web | url=http://www.world-nuclear-news.org/RS_Fukushima_faced_14-metre_tsunami_2303113.html |title=Fukushima faced 14-metre tsunami |date=23 March 2011|publisher=World Nuclear News |accessdate=24 March 2011}}</ref> ผลกระทบทำให้โรงไฟฟ้าทั้งหมดถูกน้ำท่วม รวมทั้งเครื่องปฏิกรณ์ที่สูงจากระดับน้ำทะเลไม่มากนักและในส่วนสวิตช์เกียร์ไฟฟ้าในฐานของเครื่องปฏิกรณ์ด้วย นอกจากนี้ การเชื่อมต่อกับสายส่งไฟฟ้าพังเสียหาย พลังงานทั้งหมดที่ใช้สำหรับหล่อเย็นจึงสูญเสียไปและเครื่องปฏิกรณ์เริ่มมีความร้อนเกินจากการสลายตัวของสารที่ได้จาก[[ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชั่น]]ที่เกิดขึ้นก่อนดับเครื่อง ความเสียหายจากน้ำท่วมและแผ่นดินไหวทำให้การนำความช่วยเหลือมาจากที่อื่นประสบความยากลำบาก
 
คลื่นสีนามิที่ใญ่ที่สุดมาถึงราว 50 นาที่หลังจากแผ่นดินไหวครั้งแรก ความสูงขนาด 13 ม. ของมันผ่าน[[กำแพงกันคลื่น]]ที่สูงเพียง 10 ม.เท่านั้น<ref name=":18" /> ชั่วขณะที่เข้ากระทบถูกจับภาพไว้ได้ด้วยกล้อง<ref>{{cite web|url=http://www.iaea.org/NuclearPower/Downloadable/Meetings/2012/2012-03-19-03-23-TM-NPTD/12_TM-Safety-Dresden_Germany_Maschek-Rineiski.pdf |title=Recriticality, a Key Phenomenon to Investigate in Core Disruptive Accident Scenarios of Current and Future Fast Reactor Designs |publisher=[[IAEA]] & Institute for Nuclear and Energy Technologies (IKET) |author=W. Maschek, A. Rineiski, M. Flad, V. Kriventsev, F. Gabrielli, K. Morita}} Note: See picture in the upper left corner of page 2.</ref> น้ำเข้าท่วมห้องเก็บเครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินที่อยู่ต่ำอย่างรวดเร็ว<ref name="spectrum.ieee.org">[http://spectrum.ieee.org/energy/nuclear/24-hours-at-fukushima/0 24 Hours at Fukushima A blow-by-blow account of the worst nuclear accident since Chernobyl By Eliza Strickland Posted 31 Oct 2011]</ref> เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซลไม่นานก็หยุดทำงาน ตัดพลังงานไฟฟ้าที่จ่ายให้กับปั้มน้ำที่สำคัญที่ใช้หมุนเวียนน้ำหล่อเย็นต่อเนื่องให้กับเครื่องปฏิกรณ์แบบ Generation II เป็นเวลาหลาย ๆ วันเพื่อป้องกันไม่ให้แท่งเชื้อเพลิง ({{lang-en|fuel rods}}) หลอมละลายหลังการ SCRAM เนื่องจากแผ่นรองเชื้อเพลิงเซรามิกจะยังคงผลิตความร้อนจากการสลายตัว ({{lang-en|decay heat}}) ต่อไปแม้ว่าหลังจากขบวนการฟิชชั่นได้สิ้นสุดลงแล้ว แท่งเชื้อเพลิงจะร้อนมากพอที่จะหลอมละลายตัวมันเองในระหว่างช่วงเวลาการสลายตัวของเชื้อเพลิงถ้าไม่มี cold sink ที่พอเพียง หลังจากปั้มฉุกเฉินที่สอง (ทำงานโดยไฟฟ้าจากแบตเตอรีแบ็กอัพ) ไฟหมดหนึ่งวันหลังจากคลื่นสึนามิ(12 มีนาคม)<ref name="oecd-nea.org">{{cite web |url=http://www.oecd-nea.org/press/2011/NEWS-04.html |title=OECD Timeline for the Fukushima Daiichi nuclear power plant accident.}}</ref> ปั้มน้ำทั้งหมดก็หยุดและเครื่องปฏิกรณ์ทั้งหลายเริ่มที่จะโอเวอร์ฮีทเนื่องจาก decay heat ที่ผลิตในช่วงวันแรก ๆ หลังการ SCRAM (ปริมาณที่ลดน้อยลงของ decay heat นี้จะถูกปลดปล่อยออกมาอย่างต่อเนื่องหลายปี แต่มีเวลาไม่มากพอสำหรับการระบายความร้อนด้วยน้ำเพื่อป้องกันไม่ให้แกนเชื้อเพลิงหลอมละลาย)
 
ในขณะที่คนงานกำลังดิ้นรนเพื่อจ่ายพลังงานให้กับระบบหล่อเย็นของเครื่องปฏิกรณ์และคืนพลังงานไฟฟ้าให้กับห้องควบคุม การระเบิดทางเคมีระหว่างไฮโดรเจนกับอากาศ ({{lang-en|hydrogen-air chemical explosion}}) ก็เกิดขึ้นหลายครั้ง ครั้งแรกเกิดในเครื่องปฏิกรณ์หมายเลข 1 ในวันที่ 12 มีนาคม ครั้งสุดท้ายเกิดในเครื่องปฏิกรณ์หมายเลข 4 ในวันที่ 15 มีนาคม<ref name="oecd-nea.org"/><ref name="IAEA15March"/><ref>[http://www.hyer.eu/news/regional-news/hydrogen-in-nuclear-accidents-what-is-the-role-of-the-gas-in-fukushima Hydrogen explosions Fukushima nuclear plant: what happened?]</ref> มีการประมาณการว่าปฏิกริยาของน้ำกับปลอกเชื้อเพลิงเวอร์โคเนียม ({{lang-en|zirconium fuel cladding-water reaction}}) ที่ร้อนในเครื่องปฏิกรณ์ 1 ถึง 3 แต่ละตัวได้สร้างก๊าซไฮโดรเจน 800 ถึง 1000 กก.ที่ถูกระบายออกากอ่างความดันของเครื่องปฏิกรณ์ ({{lang-en|reactor pressure vessel}}) ผสมเข้ากับบรรยากาศแวดล้อม จนในที่สุดเข้าสู่ขีดจำกัดความเข้มข้นการระเบิด ({{lang-en|explosive concentration limit}}) ในหน่วยที่ 1 และหน่วยที่ 3 และเนื่องจากการเชื่อมต่อระหว่างหน่วยที่ 3 และ 4 เป็นแบบท่อ หรืออีกทางหนึ่งคือเกิดจากปฏิกริยาเดียวกันกับที่เกิดขึ้นในบ่อเชื้อเพลิงใช้แล้วในหน่วยที่ 4 เอง<ref>{{cite web |url=http://info.ornl.gov/sites/publications/Files/Pub33574.pdf |title= MELCOR Model of the Spent Fuel Pool of Fukushima Dai-ichi Unit 4 |publisher=[[Oak Ridge National Laboratory]].}}</ref> หน่วยที่ 4 ก็เต็มไปด้วยไฮโดรเจนที่มีการระเบิดแบบไฮโดรเจนกับอากาศเกิดขึ้นที่ยอดของแต่ละหน่วยที่อยู่ในชั้นบนของอาคารบรรจุ ({{lang-en|containment building}})หลังที่สอง<ref>[http://www.fas.org/sgp/crs/nuke/R41694.pdf page 6]</ref><ref>http://eetd-seminars.lbl.gov/sites/eetd-seminars.lbl.gov/files/Fukushima1_Technical_Perspective_LBL_EEDT_04052011-1.pdf ''What happened at Fukushima a Technical Perspective.'' [[Nuclear Regulatory Commission]] page 11, 26, 29.</ref> ยานไร้คนบังคับ (Drone) ที่บินเหนือที่เกิดเหตุในวันที่ 20 มีนาคม ได้จับภาพอย่างชัดเจนของผลกระทบจากการระเบิดแต่ละครั้งที่อยู่นอกโครงสร้าง ในขณะที่ภาพด้านในถูกบดบังด้วยเงาและเศษซาก<ref name="Aerial photos by Air Photo Service Co. Ltd., Japan">
{{cite press release
|url=http://cryptome.org/eyeball/daiichi-npp/daiichi-photos.htm
|title=High-resolution photos of Fukushima Daiichi
|publisher=[[Air Photo Service Co. Ltd., Japan]]
|date=20 and 24 March 2011
|accessdate=14 January 2014
}}</ref>
 
ไม่มีรายงานการเสียชีวิตที่เชื่อมโยงกับการสัมผัสกับรังสีในระยะสั้นมากเกินไปเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุที่ฟุกุชิมะ ในขณะที่ประมาณ 18,500 คนเสียชีวิตเนื่องจากการเกิดแผ่นดินไหวและสึนามิ การคำนวณในผู้ป่วยโรคมะเร็งและการเสียชีวิตในอนาคตจากการสัมผัสรังสีที่สะสมในประชากรที่อยู่อาศัยใกล้กับฟุกุชิมะและทั่วโลกในช่วงหลายปีและหลายทศวรรษข้างหน้า ได้ถูกทำโดยอาจารย์มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดและผู้สนับสนุนการต่อต้านนิวเคลียร์ Mark Z. Jacobson ผู้ที่คาดการณ์ว่าในที่สุดจะมีการเสียชีวิต 130 รายและผู้ป่วยโรคมะเร็งที่เพิ่มขึ้น 180 ราย ที่ส่วนใหญ่ของกรณีเหล่านี้เกิดขึ้นในประชากรในพื้นที่ที่ปนเปื้อนส่วนใหญ่ของฟุกุชิมะ<ref name="Dennis Normile 395">{{cite journal|url = http://news.sciencemag.org/scienceinsider/2012/07/is-nuclear-power-good-for-you.html |author= Dennis Normile |title= Is Nuclear Power Good for You? |journal=Science|page= 395 |volume= 337 |date= 27 July 2012}}</ref><ref name="John E. Ten Hoeve and Mark Z. Jacobson 2012">{{cite journal | url = http://www.stanford.edu/group/efmh/jacobson/TenHoeveEES12.pdf |author = John E. Ten Hoeve and Mark Z. Jacobson | title = Worldwide health effects of the Fukushima Daiichi nuclear accident | journal = Energy & Environmental Science |doi = 10.1039/c2ee22019a |year = 2012 | accessdate = 18 July 2012}}</ref>
 
ในปี 2013 องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ที่ถูกอพยพออกไปได้สัมผัสกับปริมาณรังสีที่ต่ำและผลกระทบต่อสุขภาพที่เกิดจากรังสีนั้นมีแนวโน้มที่จะต่ำ<ref>[http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/78218/1/9789241505130_eng.pdf WHO report, page 92.]</ref><ref name="science.time.com">http://science.time.com/2013/03/01/meltdown-despite-the-fear-the-health-risks-from-the-fukushima-accident-are-minimal/#ixzz2MnbjhPmv ''Meltdown: Despite the Fear, the Health Risks from the Fukushima Accident Are Minimal'' [[Time magazine]] article which includes a link to the [[WHO]] report, and explains the report in [[layman]]s terms.</ref> โดยเฉพาะ รายงานขององค์การอนามัยโลกปี 2013 คาดการณ์ว่าสำหรับทารกเพศหญิงที่อพยพ ความเสี่ยงของการพัฒนาไปสู่มะเร็งต่อมไทรอยด์ตลอดช่วงอายุก่อนการเกิดอุบัติเหตุอยู่ที่ 0.75% ความเสี่ยงนี้จะถูกเพิ่มขึ้นเป็น 1.25% เนื่องจากการสัมผัสกับรังสีไอโอดีน โดยที่มีการเพิ่มขึ้นน้อยสำหรับทารกเพศชาย<!-- การคำนวนของ WHO นี้ได้สันนิษฐานถึงว่าเด็กเหล่านั้นได้หายใจเอาอากาศที่ไม่ผ่านการกรองระหว่างการอพยพและไม่ได้มีการจัดการกับ[[KI]]หรือไม่ หรือมีการสันนิษฐานถึงว่าเด็กเหล่านั้นสรวมหน้ากากและได้มีการจัดการกับ KI เป็นต้น และอะไรคือสิ่งที่ถูกกำบังในสถานที่หรือใครที่ถูกอพยพเข้าไปในสถานที่ที่มีฝุ่นละออง fallout ด้วยความผิดพลาด?--> ในขณะที่ความเสี่ยงทั้งหลายจากจำนวนที่เพิ่มขึ้นของโรคมะเร็งที่เกิดจากรังสียังคาดว่าจะได้รับการยกระดับเนื่องจากการสัมผัสที่เกิดจาก'ผลิตภัณฑ์ฟิชชั่นจุดเดือดต่ำ'อื่น ๆ ที่ถูกปล่อยออกมาเพราะความล้มเหลวด้านความปลอดภัย ที่เพิ่มขึ้นมากที่สุดเพียงตัวเดียวคือมะเร็งต่อมไทรอยด์ แต่เมื่อรวมแล้ว ความเสี่ยงโดยรวมตลอดช่วงอายุในการพัฒนาเป็นโรคมะเร็งทุกชนิดคาดว่าจะสูงขึ้น 1% สำหรับทารกเพศหญิง โดยที่มีความเสี่ยงลดลงเล็กน้อยสำหรับเพศชาย ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความไวต่อรังสีมากที่สุด<ref name="science.time.com"/> พร้อมกับเด็กที่อยู่ในครรภ์ซึ่งองค์การอนามัยโลกคาดการณ์ว่าขึ้นอยู่กับเพศของพวกเขาที่จะมีระดับเดียวกันกับความเสี่ยงในกลุ่มทารก{{sfn|WHO|2013|pp=70, 79-80}}
 
โปรแกรมการตรวจคัดกรองในปีต่อมาคือปี 2012 พบว่ามากกว่าหนึ่งในสาม (36%) ของเด็กในฟุกุชิมะมีการเจริญเติบโตที่ผิดปกติในต่อมธัยรอยด์ของพวกเขา<ref name="Ryall">{{cite news| url=http://www.telegraph.co.uk/news/worldnews/asia/japan/9410702/Nearly-36pc-of-Fukushima-children-diagnosed-with-thyroid-growths.html | work=The Telegraph UK | first=Julian | last=Ryall | title=Nearly 36pc of Fukushima children diagnosed with thyroid growths | date=19 July 2012}}</ref>{{better source|date=August 2015}} เมื่อเดือนสิงหาคม 2013 มีเด็กมากกว่า 40 คนถูกวินิจฉัยใหม่ว่าเป็นโรคมะเร็งต่อมไทรอยด์และโรคมะเร็งอื่น ๆ ในจังหวัดฟุกุชิมะโดยรวม อย่างไรก็ตาม ข้อสงสัยที่ว่าอุบัติการณ์เหล่านี้ของโรคมะเร็งจะสูงกว่าอัตราในพื้นที่ที่ไม่ปนเปื้อนและดังนั้นอุบัติการณ์ดังกล่าวจึงเป็นเนื่องมาจากการสัมผัสกับรังสีนิวเคลียร์หรือไม่นั้นไม่เป็นที่รู้จักในขั้นตอนนี้{{citation needed|date=August 2015}} ข้อมูลจากอุบัติเหตุเชอร์โนบิลแสดงให้เห็นว่าการเพิ่มขึ้นที่แน่แท้ในอัตราการเกิดมะเร็งต่อมไทรอยด์หลังจากภัยพิบัติในปี 1986 จะเริ่มต้นหลังจากระยะฟักตัวของมะเร็งที่ 3-5 ปีเท่านั้น<ref name="hormones.gr">{{cite web| url=http://www.hormones.gr/521/article/article.html |title=Radioactivity and thyroid cancer* Christopher Reiners Clinic and Polyclinic of Nuclear Medicine University of Würzburg. See Figure 1. Thyroid cancer Incidence in children and adolescents from Belarus after the Chernobyl accident.}}</ref> อย่างไรก็ตามมีข้อสงสัยว่าข้อมูลนี้จะสามารถนำมาเปรียบเทียบโดยตรงกับภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะได้หรือไม่ยังไม่สามารถกำหนดได้<ref name="rt.com">{{cite news| url=http://rt.com/news/fukushima-children-thyroid-cancer-783/ | work=RT | title=Disturbing thyroid cancer rise in Fukushima minors | date=21 August 2013}}</ref>{{better source|date=August 2015}}
 
การสำรวจโดยหนังสือพิมพ์ Mainichi Shimbun ครั้งหนึ่งคำนวณว่าในจำนวนผู้อพยพออกจากพื้นที่ประมาณ 300,000 คน ประมาณ 1,600 คนเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสภาพการอพยพ เช่นการที่ต้องอาศัยอยู่ในที่อยู่ชั่วคราวและการปิดของโรงพยาบาลที่เกิดขึ้นเมื่อเดือนสิงหาคม 2013 ตัวเลขนี้มีจำนวนใกล้เคียงกับการเสียชีวิต 1,599 คนที่เสียชีวิตโดยตรงจากแผ่นดินไหวและสึนามิในจังหวัดฟุกุชิมะในปี 2011 ด้วยสาเหตุที่แท้จริงของการเสียชีวิตส่วนใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับการอพยพเหล่านี้ไม่ได้ถูกระบุ (ตามข้อมูลของเขตเทศบาล) จึงเป็นอุปสรรคต่อการส่งใบสมัครของญาติของผู้ตายเพื่อขอเงินชดเชยปลอบขวัญ<ref name="Smith">{{cite news|last=Smith|first=Alexander|title=Fukushima evacuation has killed more than earthquake and tsunami, survey says|url=http://worldnews.nbcnews.com/_news/2013/09/10/20420833-fukushima-evacuation-has-killed-more-than-earthquake-and-tsunami-survey-says?lite|accessdate=11 September 2013|date=10 September 2013}}</ref><ref>{{cite news|url=http://mainichi.jp/english/english/newsselect/news/20130909p2a00m0na009000c.html |title=Stress-induced deaths in Fukushima top those from 2011 natural disasters.}}</ref>
 
เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2012 สภานิติบัญญัติแห่งชาติญี่ปุ่นได้แต่งตั้ง คณะกรรมการอิสระเพื่อการสอบสวนอุบัติเหตุนิวเคลียร์ฟุกุชิมะ (NAIIC) ให้ส่งรายงานการสืบสวนไปยังสภาญี่ปุ่น<ref name="National Diet of Japan Fukushima Nuclear Accident Independent Investigation Commission">{{cite web|title=国会事故調 {{!}} 東京電力福島原子力発電所事故調査委員会のホームページ|url=http://naiic.go.jp/en/|publisher=National Diet of Japan Fukushima Nuclear Accident Independent Investigation Commission|accessdate=9 July 2012|author=National Diet of Japan Fukushima Nuclear Accident Independent Investigation Commission}}</ref> คณะกรรมการพบว่าภัยพิบัตินิวเคลียร์เป็น "ฝีมือมนุษย์" โดยที่สาเหตุโดยตรงของการเกิดอุบัติเหตุทั้งหมดเป็นสิ่งที่คาดการณ์ก่อนได้ก่อนวันที่ 11 มีนาคม 2011 นอกจากนี้รายงานยังพบว่าโรงไฟฟ้​​านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิไม่มีความสามารถในการอดทนต่อการเกิดแผ่นดินไหวและสึนามิ TEPCO ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแล (NISA และ NSC) และเป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ส่งเสริมอุตสาหกรรมพลังงานนิวเคลียร์ (METI) ทั้งหมดนี้ล้มเหลวในการในการพัฒนาอย่างถูกต้องถึงระเบียบปฏิบัติด้านความปลอดภัยขั้นพื้นฐานส่วนใหญ่ เช่นการประเมินความน่าจะเป็นของความเสียหาย การเตรียมความพร้อมสำหรับการจำกัดวงความเสียหายหลักประกันจากภัยพิบัติเช่นนั้น และการพัฒนาแผนอพยพสำหรับประชาชนในกรณีของการปลดปล่อยรังสีร้ายแรง ในขณะเดียวกัน รัฐบาลได้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเกี่ยวกับอุบัติเหตุที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะของบริษัทพลังงานไฟฟ้าโตเกียวให้จัดส่งรายงานขั้นสุดท้ายให้กับรัฐบาลญี่ปุ่นในวันที่ 23 เดือนกรกฎาคม 2012<ref name="Asahi20120723" /> การศึกษาที่แยกต่างหากโดยนักวิจัยสแตนฟอร์ดพบว่าโรงไฟฟ้าญี่ปุ่นที่ดำเนินการโดยบริษัทสาธารณูปโภคที่ใหญ่ที่สุดไม่มีการป้องกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับสึนามิที่อาจเกิดขึ้น<ref name=":18" />
 
TEPCO ได้ยอมรับเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2012 ว่าบริษัทล้มเหลวที่จะใช้มาตรการที่แข็งแกร่งเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภัยพิบัติเพราะกลัวว่าจะเป็นการเชื้อเชิญให้มีการดำเนินคดีทางกฏหมายหรือให้มีการประท้วงต่อต้านโรงไฟฟ้​​านิวเคลียร์ของตน<ref name="NYT20121012"/><ref name="Fukushima operator must learn from mistakes, new adviser says"/><ref name="Yamaguchi20121012"/><ref name="CNN20121012"/> ไม่มีแผนการที่ชัดเจนสำหรับการรื้อถอนโรงไฟฟ้า แต่ฝ่ายบริหารโรงไฟฟ้าประมาณการไว้ที่สามสิบหรือสี่สิบปี<ref name="guardian-20140310"/>
 
== Background ==
 
ต่อมาได้มีหลักฐานว่าแกนปฏิกรณ์บางส่วนเกิดการหลอมละลายในเครื่องปฏิกรณ์ที่ 1, 2 และ 3 การระเบิดของไฮโดรเจนได้ทำลายวัสดุใช้หุ้มส่วนบนของอาคารซึ่งเป็นที่ตั้งของเตาปฏิกรณ์ที่ 1, 3 และ 4 แรงระเบิดได้ทำลายวัสดุคลุมภายในเตาปฏิกรณ์ที่ 2 และเกิดเพลิงไหม้ขึ้นหลายจุดที่เครื่องปฏิกรณ์ที่ 4 นอกเหนือจากนี้ แท่งเชื้อเพลิงใช้แล้วซึ่งถูกเก็บไว้ในบ่อเก็บเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ของเครื่องปฏิกรณ์หน่วยที่ 1-4 เริ่มมีความร้อนเกินเนื่องจากระดับน้ำในบ่อลดลง ด้วยเกรงว่าจะเกิดการรั่วไหลของ[[กัมมันตรังสี]] จึงนำไปสู่การอพยพประชาชนในรัศมี 20 กิโลเมตรโดยรอบโรงไฟฟ้า คนงานซึ่งทำงานอยู่ที่โรงไฟฟ้าได้รับปริมาณรังสีเข้าไปและถูกอพยพชั่วคราวหลายครั้ง โรงไฟฟ้าบางส่วนกลับมามีพลังงานอีกครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ 20 มีนาคม แต่เครื่องจักรกลที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัย เพลิงไหม้และการระเบิดยังคงไม่สามารถใช้การได้<ref>[http://online.wsj.com/article/SB10001424052748704021504576210251376606080.html?mod=googlenews_wsj Stricken Reactors May Get Power Sunday], ''Wall Street Journal'', 19 March 2011</ref> ในช่วงแรก ทางการญี่ปุ่นได้จัดภัยพิบัตินิวเคลียร์ดังกล่าวอยู่ที่ระดับ 4 ตาม[[มาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์]] (INES) ถึงแม้ว่าองค์การระหว่างประเทศอื่น ๆ จะมองว่าควรจะจัดให้อยู่ในระดับที่สูงกว่านี้ ต่อมาระดับดังกล่าวถูกเพิ่มขึ้นเป็นระดับ 5 และ 7 ซึ่งเป็นระดับสูงสุด ตามลำดับ<ref>[http://www.nytimes.com/aponline/2011/04/11/world/asia/AP-AS-Japan-Earthquake-Rating.html 'Japan to Raise Alert Level of Nuclear Crisis'] BBC News online 18 March 2011.</ref><ref>[http://www.dailymail.co.uk/news/article-1375981/Now-radiation-Japan-bad-Chernobyl-crisis-level-raised-seven-second-time-history.html 'Now radiation in Japan is as bad as radiation level is raised to 7 for only the second time in history'] ''Daily Mail'' 12 April 2011.</ref>