ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 17:
}}
 
'''หลวงลิขิตปรีชา''' (พ.ศ. 2326 - พ.ศ. 2418) เดิมชื่อ ปลอบ เป็นข้าหลวงปลัดกรมกองรายงานหนังสือไปมา ตำแหน่งเจ้ากรมพระอาลักษณ์ ฝ่ายวังหน้า (เทียบเท่ากับออกญาศรีภูริยปรีชาราชเสนาบดีศรีสารลักษณ์ วังหลวง<ref>กรมพระอาลักษณ์เป็นหนึ่งในกรมมนตรี 6 เป็นกรมขึ้นตรงต่อพระเจ้าแผ่นดิน ปฏิบัติหน้าที่ด้านเอกสารสำคัญ เช่น ประกาศพระบรมราชโองการ พระราชพิธี พระสุพรรณบัฏ และเอกสารราชการที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ ราชทินนานามตำแหน่งเจ้ากรม (วังหลวง) คือ ออกญาศรีภูริยปรีชาราชเสนาบดีศรีสารลักษณ์ ศักดินา 5000 ส่วนวังหน้าถือศักดินากึ่งหนึ่งของวังหลวงตามธรรมเนียม หรือลดหลั่นศักดินาลงไปตามความสำคัญของกรมและบรรดาศักดิ์</ref>) และราชเลขานุการในพระองค์ <ref>เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2451 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ สั่งให้ยกกรมพระอาลักษณ์และกรมรัฐมนตรีสภามาสมทบอยู่ในกรมราชเลขานุการ โดยรวมเป็นแผนกเดียวกันแต่ให้คงชื่อกรมทั้งสองนั้นอยู่ เนื่องจากมีหน้าที่เนื่องกันกับกรมราชเลขานุการแต่งบประมาณยังแยกกันอยู่</ref> และเป็นนักกวีในสมัยรัชกาลที่ 2 - รัชกาลที่ 3 <ref>ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. ประวัติวรณคดีวิจารณ์ไทย พ.ศ. 2325-2525 ทอไหมในสายน้ำ 200 ปี วรรณคดีวิจารณ์ไทย. กรุงเทพฯ : ประพันธ์สานส์, 2541. 291 หน้า. ISBN : 974-230-708-0</ref> ถือศักดินา 1,500 <ref>ประวัติขุนนางวังหน้า ร. 2. กรุงเทพ หน้าที่ 12</ref> (บางตำราก็ว่าถือศักดินา 1,800) ปรากฏในทำเนียบตำแหน่งข้าราชการ ฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งเป็นทำเนียบในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว]] <ref>สมบัติ ปลาน้อย. เจ้าฟ้าจุฑามณี, พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์รวมสาส์น (1977), 2536. 315 หน้า.</ref> บิดาชื่อ[[หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล)|นายพันโท หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล)]] และ นางพิสณฑ์ยุทธการ (ปั้น โรจนกุล)ถือศักดินา 2000 <ref>ราชกิจจานุเบกษา. พระราชบัญญัติศักดินาทหารทหารบกและศักดินาทหารเรือ. ประกาศ ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท วันที่ 1 เดือน 9 ขึ้น 5 ค่ำ ปีชวดสัมฤทธิศกศักราช 1250 เป็นวันที่ 7215 ในรัชกาลปัจจุบัน</ref> ซึ่งเป็นบุตรของเจ้าพระยานเรนทราภัย (บุญเกิด) และเป็นหลานเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เป็นข้าราชการทหารกองหนุน กระทรวงกลาโหม หลวงลิขิตปรีชามีเชื้อสายสกุลสืบทอดจาก[[เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)|เจ้าพระยาพิษณุโลก]] (นับเป็นเหลน) <ref>นามสกุลพระราชทาน. พระราชวังพญาไท. หมวด ร. ลำดับที่ 368 </ref> สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย บรรพบุรุษของท่านชื่อพราหมณ์ศิริวัฒนะ หรือพระมหาราชครู พระราชปุโรหิตาจารย์ราชสุภาวดีศรีบรมหงส์ องค์ปุริโสดมพราหมทิชาจารย์ ราชปุโรหิตใน[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3]] สืบสกุล "โรจนกุล" ต้นสกุลคือ [[เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)|เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง)]]
 
== ชีวประวัติหน้าที่การงาน ==