ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มลภาวะทางแสง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ทำลิงก์ไปสิครับ
Rakmith Thitiya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
3. แสงรุกล้ำไปในเคหสถานของผู้อื่น การรุกล้ำโดยแสง (Light Trespass) คือ แสงหรือความสว่างที่รุกล้ำเข้าไปในบริเวณของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งอาจเกิดจากหลายปัจจัย ได้แก่ การออกแบบโครงสร้างของหลอดไฟหรือการออกแบบส่วนประกอบของแสงประดิษฐ์ที่ไม่ควบคุมบริเวณให้แสงสว่างได้ แต่ในทางกลับกันก็มีประโยชน์ของแสงที่รุกล้ำ คือ การออกแบบ[[หลอดไฟฟ้า]] ที่เป็นมิตรต่อ[[สิ่งแวดล้อม]]เพื่อไม่ให้แสงรุกล้ำไปยังทรัพย์สินหรือรบกวน ความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันของเพื่อนบ้าน เช่น รัฐบาลอังกฤษได้กำหนดมาตรการในการควบคุมไม่ให้ มีการจำหน่ายหลอดไฟฟ้าขนาด 500 วัตต์ เพื่อวัตถุประสงค์ในการใช้เป็นหลอดไฟรักษาความปลอดภัย
 
== ผลกระทบขงประเภทและความเป็นมาของแสงที่ก่อให้เกิดมลภาวะทางแสง ==
'''1.แสงธรรมชาติ''' ({{lang-en|Natural light}}) คือ แสงสว่างที่ได้จากดวงอาทิตย์ในเวลากลางวันและแสงที่ได้จากการสะท้อนทางอ้อม
 
'''2.แสงเทียน''' ({{lang-en|Artificial light}}) คือ แสงสว่างที่ได้จากสิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์โดยวิธีต่างๆ เช่น แสงจากไฟแฟลชทุกชนิด แสงจากตะเกียงหรือเทียนไข แสงสว่างจาก[[หลอดไฟฟ้า]]ทุกชนิด<ref>www.teacher.ssru.ac.th/.../w5_the_importance_of_light_to_shoot.pdf</ref> เมื่อปี 2443 ได้มีการคิดค้นหลอดไฟแบบไส้ขึ้นเป็นครั้งแรกของโลก โดย ซอร์ โจเซฟ สวอน ได้นำความคิดจากนักวิทยาศาสตร์มาพัฒนาต่อจนสร้างหลอดไฟได้สำเร็จ แต่ไม่ได้พัฒนาระบบไฟฟ้าขึ้น ทำให้คนที่ซื้อหลอดไฟของสวอน จะต้องหาซื้อเครื่องปั่นไฟด้วย ก่อให้เกิดความยุ่งยากในการใช้งาน ต่อมา[[โทมัส เอดิสัน]] สามารถสร้าง[[หลอดไฟไส้]]ได้เช่นกัน โดยหลอดไฟของโทมัส ทำจากแท่งคาร์บอน มีข้อเสีย คือ ขาดง่าย นอกจากนั้นโทมัส เอดิสัน ยังสามารถพัฒนาระบบไฟฟ้าควบคู่กับหลอดไฟ ทำให้สามารถแจกจ่ายไฟไปยังบ้านเรือนต่างๆได้ หลอดไฟของเขาจึงได้รับความความนิยม มากกว่าของสวอน จนในที่สุดคนทั่วไปเข้าใจกันว่า ผู้ที่คิดค้นหลอดไฟคนแรกของโลก คือ โทมัส เอดิสัน<ref>www.tit.ac.th/NEWS-PDF/ย้อนรอยประวัติหลอดไฟ.pdf</ref>
 
== ผลกระทบของมลภาวะทางแสง ==
1.มลภาวะทางแสงที่เกี่ยวกับดาราศาสตร์<ref>http://www.fringer.org/stuff/blog/2015/04/23/5835</ref> เมื่อ ค.ศ.1970 มีนักดาราศาสตร์กลุ่มหนึ่งได้ตระหนัก ทางด้านมลภาวะทางแสง ที่มีผลกระทบต่อดวงดาว จึงได้ทำการศึกษามลภาวะที่เกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์ แสงสว่างที่มาจากดวงดาว ส่งผลให้การมองเห็นของดวงตาของเราที่มองอาจไม่ชัดเจน ทางนักดาราศาสตร์จึงศึกษา และอาศัยเครื่องมือทางดาราศาสตร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการมองเห็นดวงดาวอย่างชัดเจน ซึ่งการใช้เครื่องมือ ทำให้แสงที่ได้รับส่งผลกระทบต่อดวงตาของเรา นักดาราศาสตร์จึงมีการคิดค้นประสิทธิภาพในการสังเกตดวงดาว เช่น การส่องกล้องจาก กล้องจุลทรรศน์ เป็นต้น