ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มลภาวะทางแสง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Rakmith Thitiya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''มลภาวะทางแสง''' ({{lang-en|Light Pollution}}) หมายถึง [[แสง]]ประดิษฐ์ที่เกิดจากการกระทำกิจวัตรของมนุษย์ในเวลากลางคืน รวมถึงมลภาวะของแสงที่สว่างจ่าจนเกินความจำเป็นหรือแสงประดิษฐ์ที่ใช้ผิดวัตถุประสงค์ด้วย ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น สุนัข แมว นก สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์อื่นๆอีกมากมาย โดยที่สำคัญยังส่ง[[ผลกระทบสิ่งแวดล้อม]]และต่อกิจกรรมดาราศาสตร์ของนักดาราศาสตร์ด้วย และการออกแบบหลอดไฟประดิษฐ์ที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมโดยที่สำคัญยังส่งผลกระทบต่อกิจกรรมดาราศาสตร์ของนักดาราศาสตร์ด้วย และการออกแบบหลอดไฟประดิษฐ์ที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมหรือการติดตั้งหลอดไฟฟ้าที่ไม่ได้มาตรฐาน ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม<ref>www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/viewFile/28085/24133</ref>หรือการติดตั้งหลอดไฟฟ้าที่ไม่ได้มาตรฐาน ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
== ประเภทของมลภาวะทางแสง ==
มลภาวะทางแสงที่อาจส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมในลักษณะต่างๆมี 3 ประเภทหลักด้วยกัน
 
บรรทัด 10:
 
3. แสงรุกล้ำไปในเคหสถานของผู้อื่น การรุกล้ำโดยแสง (Light Trespass) คือ แสงหรือความสว่างที่รุกล้ำเข้าไปในบริเวณของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งอาจเกิดจากหลายปัจจัย ได้แก่ การออกแบบโครงสร้างของหลอดไฟหรือการออกแบบส่วนประกอบของแสงประดิษฐ์ที่ไม่ควบคุมบริเวณให้แสงสว่างได้ แต่ในทางกลับกันก็มีประโยชน์ของแสงที่รุกล้ำ คือ การออกแบบ[[หลอดไฟฟ้า]] ที่เป็นมิตรต่อ[[สิ่งแวดล้อม]]เพื่อไม่ให้แสงรุกล้ำไปยังทรัพย์สินหรือรบกวน ความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันของเพื่อนบ้าน เช่น รัฐบาลอังกฤษได้กำหนดมาตรการในการควบคุมไม่ให้ มีการจำหน่ายหลอดไฟฟ้าขนาด 500 วัตต์ เพื่อวัตถุประสงค์ในการใช้เป็นหลอดไฟรักษาความปลอดภัย
 
== ผลกระทบของขงมลภาวะทางแสง ==
1. มลภาวะทางแสงที่เกี่ยวกับดาราศาสตร์ เมื่อ ค.ศ.1970 มีนักดาราศาสตร์กลุ่มหนึ่งได้ตระหนัก ทางด้านมลภาวะทางแสง ที่มีผลกระทบต่อดวงดาว จึงได้ทำการศึกษามลภาวะที่เกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์
1.มลภาวะทางแสงที่เกี่ยวกับดาราศาสตร์<ref>http://www.fringer.org/stuff/blog/2015/04/23/5835</ref> เมื่อ ค.ศ.1970 มีนักดาราศาสตร์กลุ่มหนึ่งได้ตระหนัก ทางด้านมลภาวะทางแสง ที่มีผลกระทบต่อดวงดาว จึงได้ทำการศึกษามลภาวะที่เกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์ แสงสว่างที่มาจากดวงดาว ส่งผลให้การมองเห็นของดวงตาของเราที่มองอาจไม่ชัดเจน ทางนักดาราศาสตร์จึงศึกษา และอาศัยเครื่องมือทางดาราศาสตร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการมองเห็นดวงดาวอย่างชัดเจน ซึ่งการใช้เครื่องมือ ทำให้แสงที่ได้รับส่งผลกระทบต่อดวงตาของเรา นักดาราศาสตร์จึงมีการคิดค้นประสิทธิภาพในการสังเกตดวงดาว เช่น การส่องกล้องจาก กล้องจุลทรรศน์ เป็นต้น
 
<ref>http://www.fringer.org/stuff/blog/2015/04/23/5835</ref>
2. มลภาวะทางแสงที่เกี่ยวข้องกับระบบนิเวศ ของการใช้งานปริมาณหลอดไฟ ที่เกิดจากการใช้งานในโรงงานที่กำลังขยายตัวพื้นที่ อุตสาหกรรมและการควบคุม การขยายตัวผังเมือง ปราศจากมาตรการทางกฎหมายสิ่งแวดล้อม จึงก่อให้เกิดมลภาวะต่อแสง ที่มีผลกระทบต่อวัฏจักรของความเป็นอยู่ของมนุษย์และระบบนิเวศ รวมไปถึงการดำรงชีวิตของสัตว์และพืช<ref>http://www.thoengwit.ac.th/freeweb/19835/p6.html</ref>
 
3. มลภาวะทางแสงที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพมนุษย์ แสงที่ส่องในเวลาการคืน ส่งผลกระทบต่อมนุษย์ นั้นมีหลายประการ เช่น มลภาวะทางแสงที่ส่งผลต่อต่อมไพเนียล (Pineal) ในเวลากลางคืนร่างกายของมนุษย์จะหลั่งสารที่ เรียกว่า เมลาโทนิน (Melatonin) ซึ่งส่งผลต่อการนอนหลับ (Sleep Disorder) และก่อให้เกิดโรคมะเร็งเต้านม เป็นต้น<ref>http://www.manager.co.th/CelebOnline/ViewNews.aspx?NewsID=9570000120788</ref>
 
4. มลภาวะทางแสงที่เกี่ยวข้องกับการก่ออาชญากรรม หลอดไฟที่ส่องสว่างตามถนน (Street Light) และหลอดไฟที่ให้ความปลอดภัย (Security Light) เพื่อประโยชน์แก่ผู้สัญจรทางเท้าให้มีความปลอดภัยในการมองเห็นในเวลากลางคืนได้อย่างชัดเจน และช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุการสัญจรบนถนน รวมถึงความปลอดภัยจากอาชญากรรมจากการเดินทางบนถนนมากยิ่งขึ้น แสงสว่างจ้า (glare) ที่ส่องมาเข้าดวงตาของแกนนำการชุมนุมหรือประชาชนที่เข้าร่วมชุมนุมโดยตรง การใช้เทคโนโลยีแสงสว่างหรือไฟส่องสว่างในบริเวณพื้นที่ชุมนุมที่มีทิศทางส่องรุกล้ำไปยังที่อยู่อาศัยหรือพื้นที่ส่วนตัวของประชาชนที่อยู่อาศัยโดยรอบ (trespassing lights) รวมไปถึงการส่องแสงสว่างจากการออกแบบหรือติดตั้งหลอดไฟฟ้าหรือโคมไฟในบริเวณพื้นที่ที่มีการชุมนุมทางการเมืองในลักษณะที่ไม่เหมาะสม จนทำให้เกิดทิศทางของแสงส่องเรืองขึ้นไปยังท้องฟ้าในเวลากลางคืน (sky glow) ซึ่งไม่เพียงจะทำให้เป็นการสิ้นเปลืองพลังงานโดยใช้เหตุแล้ว แสงส่องเรืองขึ้นไปยังท้องฟ้าในเวลากลางคืนยังอาจทำลายธรรมชาติและความมืดมิดในยามค่ำคืนในบริเวณโดยรอบพื้นที่<ref>http://www.prachatai.com/journal/2013/11/49783</ref>
เส้น 24 ⟶ 26:
=== ปัญหาทางกฎหมายภายใต้กฎหมาย Town and Country Planning Act 1990 ===
'''ปัญหาทางกฎหมายภายใต้กฎหมาย Town and Country Planning Act 1990''' นอกจากปัญหาทางกฎหมาของ Clean Neighbourhoods and Environment Act 2005 แล้ว ประเทศอังกฤษยังมีข้อจำกัดทางกฎหมายผังเมือง ซึ่งกฎหมายผังเมืองที่อังกฤษได้ใช้ ได้แก่ กฎหมาย Town and Country Planning Act 1990<ref>www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/viewFile/28085/24133</ref> รัฐบาลอังกฤษไม่ได้กำหนดมาตรการทางกฎหมายผังเมืองเป็นการเฉพาะเพื่อที่จะเป็นตัวกำหนดมาตรฐานการออกแบบอาคารและการติดตั้งหลอดไฟฟ้า หรือเพื่อป้องกันมลภาวะทางแสงจากแสงในเวลากลางคืน ซึ่งในปัจจุบันเป็นเพียงการให้การตัดสินใจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของอังกฤษในการพิจารณาว่าแบบแผนของอาคารที่ขออนุญาตเพื่อดำเนินการก่อสร้างหรือการติดตั้งหลอดไฟฟ้าหรือโคมไฟ ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนโดยรอบหรือท้องถิ่นบ้าง
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}