ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บึงละหาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘ศาตร์’ ด้วย ‘ศาสตร์’
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
'''บึงละหาน''' ครอบคลุมพื่นที่ 4 ตำบลใน[[อำเภอจัตุรัส]] [[จังหวัดชัยภูมิ]] ได้แก่ [[ตำบลละหาน]] ตำบล[[หนองบัวใหญ่]] ตำบล[[หนองบัวบาน]] ตำบล[[ลุ่มลำชี]] โดยมีพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณ[[ตำบลละหาน]] อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ
 
'''เนื้อที่''' 29.09 ตารางกิโลเมตร ( 18,181 ไร่ )
 
'''ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์''' 15ํ 35'-40' N และ 101ํ 50'-56' E
บรรทัด 27:
 
=== ปลา ===
[[ไฟล์:ปลาหมอช้างเหยียบบึงละหานPristol fasci 100614-3516 awr.jpgJPG|thumb|ปลาหมอช้างเหยียบ ปลาที่เป็นสัญลักษณ์ของบึงละหาน]] บึงละหานมีอาณาบริเวณที่กว้างใหญ่และมีน้ำตลอดทั้งปี ทำให้ปลาสามารถอาศัยและขยายพันธุ์ได้ดี พบปลาอย่างน้อย 25 ชนิด '''ชนิดที่อยู่ในสภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์''' ได้แก่ [[ปลาดุกด้าน]] '''ปลาใน[[วงศ์ปลาตะเพียน]]''' พบ 9 ชนิด '''ปลาใน[[วงศ์ปลาหมอ]]''' พบ 3 ชนิด '''ปลาเศรษฐกิจ''' ได้แก่ [[ปลาสลาด]] [[ปลากระสูบจุด|ปลาสูบจุด]] [[ปลาตะเพียนขาว]] [[ปลาสร้อยขาว]] [[ปลาสร้อยนกเขา]] [[ปลาหมอช้างเหยียบ]] [[ปลาช่อน]]
 
=== พืช ===
บรรทัด 34:
== ลักษณะทางธรณีวิทยา ==
'''บึงละหาน''' ตั้งอยู่บนพื้นที่ราบที่มีชั้นเกลือหินวางตัวอยู่ด้านใต้ เกลือหินสามารถละลายน้ำได้ง่ายและทำให้เกิดโพรงใต้ติน เมื่อตะกอนด้านบนรับน้ำหนักไม่อยู่จึงเกิดการถล่มตัวลงเป็นปรากฏการทางธรณีวิทยาที่เรียกว่า '''หลุมยุบ''' โดยเริ่มแรกเป็นหลุมขนาดเล็กและค่อยขยายตัวใหญ่ขึ้น เมื่อเกิดหลุมยุบครั้งแรกน้ำจะรสชาติเค็มเนื่องจากน้ำเกลือใต้ดินขึ้นมา ภายหลังตะกอนขนาดเล็กจะปิดกั้นไม่ให้เกลือสามารถขึ้นมาได้ ในขณะที่น้ำจืดเพิ่มปริมาณมากขึ้นความเค็มก็เจือจางไป ปัจจุบันบึงไม่มีการขยายตัวและไม่ก่อให้เกิดอันตรายใดๆ ลักษณะเช่นนี้สามารถพบได้หลายแห่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<ref>เอกสารแหล่งเรียนรู้ทางธรณีวิทยาจังหวัดชัยภูมิ, จุศึกษาที่ 9 บึงละหาน</ref>
 
 
== อ้างอิง ==