ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาสมุทร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
มวลน้ำเค็มปกคลุมประมาณ 72% ของพื้นผิวโลก (~3.6{{e|8}}&nbsp;กม.<sup>2</sup>) และถูกแบ่งเป็นมหาสมุทรหลัก ๆ และทะเลขนาดเล็กอีกหลายแห่ง โดยมหาสมุทรจะครอบคลุมพื้นที่โลกประมาณ 71%<ref name="noaa.gov">{{cite web |title=NOAA – National Oceanic and Atmospheric Administration – Ocean |url=http://www.noaa.gov/ocean.html |publisher=Noaa.gov |accessdate=2012-11-08 }}</ref> มหาสมุทรประกอบด้วยน้ำของโลก 97% และ[[สมุทรศาสตร์|นักสมุทรศาสตร์]]กล่าวว่ามหาสมุทรในโลกเพิ่งได้มีการสำรวจไปได้เพียง 5% เท่านั้น<ref name="noaa.gov" /> ปริมาตรสุทธิมีประมาณ 1.35 พันล้านลูกบาศก์กิโลเมตร (320 ล้านลูกบาศก์ไมล์)<ref name="hypertextbook2003">{{cite web |last=Qadri |first=Syed |title=Volume of Earth's Oceans |work=The Physics Factbook |date=2003 |url=http://hypertextbook.com/facts/2001/SyedQadri.shtml |accessdate=2007-06-07 }}</ref> มีความลึกเฉลี่ยที่ {{convert|3700|m|ft|sp=us}}<ref name="Charette_Smith_Ocean-depth">{{cite journal |last=Charette |first=Matthew |last2=Smith |first2=Walter H. F. |title=The volume of Earth's ocean |journal=Oceanography |date=2010 |volume=23 |issue=2 |pages=112–114 |doi=10.5670/oceanog.2010.51 |url=http://www.tos.org/oceanography/archive/23-2_charette.html |accessdate=27 September 2012 }}</ref><ref name="NOAA" />
 
เนื่องจากมหาสมุทรเป็นส่วนประกอบหลักของอุทกภาคของโลก มหาสมุทรจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อ[[ชีวิต|สิ่งมีชีวิตทุกชนิด]] เป็นส่วนหนึ่งใน[[วัฏจักรคาร์บอน]] และมีอิทธิพลต่อ[[ภูมิอากาศ]]และ[[ลมฟ้าอากาศ]] มหาสมุทรเป็น[[ที่อยู่อาศัย]]ของสิ่งมีชีวิตกว่า 230,000 [[สปีชีส์]] แม้ว่ามหาสมุทรในส่วนที่ลึก ๆ ส่วนมากยังคงไม่ถูกสำรวจ และเชื่อกันว่ามีสิ่งมีชีวิตใต้น้ำมากกว่า 2 ล้านชนิดอยู่ในนั้น<ref name="la.2009">{{cite news |title=Mapping an ocean of species |last=Drogin |first=Bob |url=http://articles.latimes.com/2009/aug/02/nation/na-fish2 |date=August 2, 2009 |accessdate=August 18, 2009 |work=Los Angeles Times }}</ref> [[จุดกำเนิดของน้ำบนโลก|จุดกำเนิดของมหาสมุทร]]นั้นยังไม่มีคำตอบ แต่มีความคิดว่ามันเกิดขึ้นใน[[บรมยุคเฮเดียน]] และอาจจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดกระบวนการ[[กำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต]]
[[องค์การอุทกศาสตร์สากล]] (International Hydrographic Organization) เป็นผู้กำหนดเส้นแบ่งเขตระหว่างแต่ละมหาสมุทร ยกตัวอย่างเช่น มหาสมุทรใต้เริ่มจากชายฝั่ง[[ทวีปแอนตาร์กติกา]]ไปถึงละติจูด 60 องศาใต้ พื้นที่ที่มีขนาดเล็กกว่ามหาสมุทร เรียกว่า [[ทะเล]] [[อ่าว]] [[ช่องแคบ]] ฯลฯ
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* Pope, F. 2009. From eternal darkness springs cast of angels and jellied jewels. in The Times. November 23. 2009 p. 16 - 17.
 
{{แหล่งน้ำ}}