ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 71:
เมื่อสงครามยุติ รัฐจักรวรรดิใหญ่สี่รัฐ อันได้แก่ จักรวรรดิเยอรมัน ออสเตรีย-ฮังการี รัสเซียและออตโตมัน พ่ายแพ้ทั้งทางการเมืองและทางทหารและได้สิ้นสภาพไป เยอรมนีและรัสเซียสูญเสียดินแดนไปมหาศาล ส่วนอีกสองรัฐที่เหลือนั้นล่มสลายลงอย่างสิ้นเชิง แผนที่ยุโรปกลางได้ถูกเขียนใหม่โดยมีประเทศขนาดเล็กเกิดใหม่หลายประเทศ<ref>{{harvnb|Keegan|1988|p=7}}</ref> [[สันนิบาตชาติ]]ถูกก่อตั้งขึ้นด้วยหวังว่าจะป้องกันความขัดแย้งเช่นนี้มิให้เกิดขึ้นอีกในอนาคต ลัทธิชาตินิยมยุโรปเกิดขึ้นหลังสงครามและการล่มสลายของจักรวรรดิทั้งหลาย ผลสะท้อนจากความพ่ายแพ้ของเยอรมนีและปัญหากับ[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] ยอมรับกันทั่วไปว่าเป็นปัจจัยซึ่งนำไปสู่การปะทุของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]<ref>{{harvnb|Keegan|1988|p=11}}</ref>
 
== เบื้องหลังตอนไหน ==
ในคริสต์ศตวรรษที่ 1920,000 ชาติมหาอำนาจยุโรปประสบไม่มีปัญหากับการรักษาไว้ซึ่ง[[สมดุลของอำนาจ]]ทั่วทวีปยุโรป ซึ่งเป็นผลมาจากเครือข่ายพันธมิตรทางการเมืองและทหารอันซับซ้อนทั่วทั้งทวีปจนถึง ค.ศ. 1900<ref name=Willmott15/> พันธมิตรเหล่านี้ถือกำเนิดขึ้นใน ค.ศ. 1815 ด้วย[[พันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์]]ระหว่าง[[รัสเซีย]] รัสเซียและออสเตรีย จากนั้น ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1873 นายกรัฐมนตรีเยอรมนี [[ออตโต ฟอน บิสมาร์ก]] เจรจาตั้ง[[สันนิบาตสามจักรพรรดิ]]ระหว่างพระมหากษัตริย์ของออสเตรีย-ฮังการี รัสเซียและเยอรมนี ความตกลงดังกล่าวล้มเหลวเพราะออสเตรีย-ฮังการีและรัสเซียไม่สามารถตกลงกันได้ในนโยบายเหนือ[[คาบสมุทรบอลข่าน]] ทิ้งให้เยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการีจัดตั้งพันธมิตรกันสองประเทศใน ค.ศ. 1879 เรียกว่า [[ทวิพันธมิตร]] ซึ่งถูกมองว่าเป็นวิธีการตอบโต้อิทธิพลของรัสเซียในคาบสมุทรบอลข่านเมื่อจักรวรรดิออตโตมันอ่อนแอลงอย่างต่อเนื่อง<ref name=Willmott15 /> ใน ค.ศ. 1882 พันธมิตรนี้ขยายรวมไปถึงอิตาลีและเกิดเป็น[[ไตรพันธมิตร]]<ref name=keegan52>{{harvnb|Keegan|1998|p=52}}</ref>
 
หลัง ค.ศ. 1870 ความขัดแย้งในยุโรปเบี่ยงเบนไปส่วนใหญ่ผ่านเครือข่ายสนธิสัญญาที่มีการวางแผนไว้อย่างระมัดระวังระหว่างจักรวรรดิเยอรมันกับประเทศที่เหลือในยุโรปด้วยฝีมือของนายกรัฐมนตรีบิสมาร์ค เขาเน้นการทำงานเพื่อยึดรัสเซียให้อยู่ฝ่ายเดียวกับเยอรมนีเพื่อหลีกเลี่ยงสงครามสองแนวรบกับฝรั่งเศสและรัสเซีย เมื่อ[[สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2]] เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิเยอรมนี (ไกเซอร์) พันธมิตรของบิสมาร์คค่อย ๆ ถูกลดความสำคัญลง เช่น จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ทรงปฏิเสธจะต่อ[[สนธิสัญญาประกันพันธไมตรี]]กับรัสเซียใน ค.ศ. 1890 อีกสองปีต่อมา มีการลงนามจัดตั้ง[[พันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซีย]]เพื่อตอบโต้อำนาจของไตรพันธมิตร ใน ค.ศ. 1904 สหราชอาณาจักรประทับตราเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศส ซึ่งเรียกว่า [[ความตกลงฉันทไมตรี]] และใน ค.ศ. 1907 สหราชอาณาจักรและรัสเซียลงนามใน[[อนุสัญญาอังกฤษ-รัสเซีย]] ระบบนี้ประสานความตกลงทวิภาคีและก่อตั้ง[[ไตรภาคี]]<ref name=Willmott15/>
บรรทัด 87:
วันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 [[กัฟรีโล ปรินซีป]] นักศึกษาชาวบอสเนียเซิร์บและสมาชิกบอสเนียหนุ่ม ลอบปลงพระชนม์รัชทายาทแห่งออสเตรีย-ฮังการี [[อาร์ชดยุกฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย]] ใน[[ซาราเยโว]] บอสเนีย<ref name=Willmott26>{{harvnb|Willmott|2003|p=26}}</ref> อันเป็นจุดเริ่มต้นของการดำเนินกลยุทธ์ทางการทูตระหว่างออสเตรีย-ฮังการี เยอรมนี รัสเซีย ฝรั่งเศสและอังกฤษ เรียกว่า [[วิกฤตการณ์เดือนกรกฎาคม]] โดยต้องการยุติการเข้าแทรกแซงของเซอร์เบียในบอสเนีย ออสเตรีย-ฮังการีจึงยื่นคำขาดเดือนกรกฎาคมแก่เซอร์เบีย ซึ่งเป็นข้อเรียกร้องสิบประการซึ่งมีเจตนาทำให้ยอมรับไม่ได้ และเจตนาจุดชนวนสงครามกับเซอร์เบีย<ref name=Willmott27>{{harvnb|Willmott|2003|p=27}}</ref> เมื่อเซอร์เบียยอมตกลงในข้อเรียกร้องเพียงแปดจากสิบข้อ ออสเตรีย-ฮังการีจึงประกาศสงครามเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1914
 
จักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งไม่ต้องการปล่อยให้ออสเตรีย-ฮังการีกำจัดอิทธิพลของตนในบอลข่าน และเพื่อให้การสนับสนุนชาวเซิร์บที่อยู่ในความคุ้มครองเป็นเวลานานแล้ว จึงออกคำสั่งระดมพลบางส่วนในวันต่อมา<ref name=keegan52 /> เมื่อจักรวรรดิเยอรมันเริ่มระดมพลเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1914 ฝรั่งเศส ซึ่งโกรธแค้นจากการยึดครอง[[อัลซาซ-ลอแรน]]ของเยอรมนีระหว่าง[[สงครามฝรั่งเศส-รัสเซีย]] จึงสั่งระดมพลเช่นกันเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม เยอรมนีประกาศสงครามต่อรัสเซียในวันเดียวกัน<ref>{{harvnb|Willmott|2003|p=29}}</ref> สหราชอาณาจักรประกาศสงครามต่อเยอรมนีเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 1914 หลัง "คำตอบซึ่งไม่น่าพอใจ" ต่อคำขาดของอังกฤษที่เรียกร้องให้เคารพความเป็นกลางของ[[เบลเยียม]]<ref>{{cite web |url=http://www.bbc.co.uk/history/worldwars/wwone/mirror01_01.shtml |publisher=bbc.co.uk |title= Daily Mirror Headlines: The Declaration of War, Published 4 August 1914 |accessdate= 9 February 2010}}</ref>
 
== เส้นทางของสงคราม ==