ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะเลสาบไท่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzero ย้ายหน้า ผู้ใช้:Nattawan s/กระบะทราย31 ไปยัง ทะเลสาบไท่ โดยไม่สร้างหน้าเปลี่ยนทางตามมา
Dexbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Parsoid bug phab:T107675
บรรทัด 44:
จากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์พบว่าโครงสร้างรูปทรงกลมของทะเลสาบไท่เป็นผลมาจาก[[ผลกระทบของดาวตก]] (meteor impact) โดยมาจากการค้นพบแร่ธาตุต่าง ๆ ในยุคดึกดำบรรพ์ คือ หิน [[shatter cones]] หิน [[Shock metamorphism|shock-metamorphosed]] [[ควอตซ์]] [[อุลกมณี]] และหิน shock-metamorphic unloading fractures<ref>{{cite journal|author1=Wang Erkang |author2=Wan Yuqiu |author3=Xu Shijin |year=2002 |url=http://www.springerlink.com/content/h0jw1n5l59211248/ |title=Discovery and implication of shock metamorphic unloading microfractures in Devonian bedrock of Taihu Lake |journal=Science in China Series D: Earth Sciences |volume=45 |issue=5 |month=May}}</ref> จากการศึกษาเมื่อเร็ว ๆ นี้ พบความเป็นไปได้ว่ามี[[การอัดปะทะเป็นแอ่ง]] (impact crater) ที่เกิดขึ้นมากกว่า 70 ล้านปีก่อน หรืออาจเป็นช่วงปลายยุค[[ดีโวเนียน]] (Devonian Period)<ref>{{cite journal|first=K. |last=Wang |year=1992 |bibcode=1992lmip.conf...77W |title=A late Devonian impact event and its association with a possible extinction event on Eastern Gondwana |journal=Lunar and Planetary Inst., International Conference on Large Meteorite Impacts and Planetary Evolution |last2=Geldsetzer |first2=H. H. J. |page=77}}</ref>
 
<nowiki> </nowiki>จากการศึกษาฟอสซิล หรือซากดึกดำบรรพ์ พบว่าพื้นที่บริเวณทะเลสาบไท่เคยเป็นพื้นดินแห้งมาก่อน จนกระทั่งยุค[[โฮโลซีน]] (Holocene) หรือมากกว่าหมื่นปีที่ผ่านมา ได้กลายเป็นทางน้ำไหลผ่านสู่[[ทะเลจีนตะวันออก]] ต่อมาสันดอนที่สะสมเพิ่มมากขึ้นบริเวณปาก[[แม่น้ำแยงซี]]  (อังกฤษ: Yangtze river; จีนตัวย่อ: 扬子江; จีนตัวเต็ม: 揚子江; พินอิน: ''Yángzǐ jiāng'') และ[[แม่น้ำเฉียนถัง]] (อังกฤษ: Qiantang River; จีนตัวย่อ: 钱塘江; จีนตัวเต็ม: 錢塘江; พินอิน: ''Qiántáng Jiāng'', หรือรูจักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า แม่น้ำเฉียน) ทำให้พื้นที่บริเวณทะเลสาบถูกปิดล้อมและไม่มีทางออกสู่ทะเลอีกต่อไป ภายหลังเมื่อมีการไหลเข้าของน้ำจืดจากแม่น้ำและฝนทำให้ทะเลสาบแห่งนี้กลายเป็นทะเลสาบน้ำจืดในที่สุด
 
== ประวัติศาสตร์ ==
บรรทัด 74:
|accessdate=April 20, 2008 |agency=Xinhua}}</ref> ราคาน้ำดื่มบรรจุขวดในช่วงนั้นมีการปรับขึ้นถึงหกเท่า ซึ่งต่อมารัฐบาลกลางได้มีคำสั่งห้ามการขายน้ำดื่มของโรงงานในบริเวณนั้นเกินราคาที่กำหนด<ref>{{cite news|work=[[MSNBC]] |url=http://www.msnbc.msn.com/id/18959222/from/RS.1/ |title=Algae smother Chinese lake, millions panic |date=May 31, 2007 |agency=[[Associated Press|AP]]}}</ref>
 
<nowiki> </nowiki>ในเดือนตุลาคม ปี ค.ศ. 2007 มีรายงานว่ารัฐบาลยื่นจดหมายเตือน รวมถึงสั่งปิดโรงงานอุตสาหกรรมมากกว่า 1,300 แห่งในบริเวณโดยรอบทะเลสาบไท่ อย่างไรก็ตาม[[อู๋ลี่หง]] (อังกฤษ: Wu Lihong; จีนตัวย่อ: 吴立红; จีนตัวเดชต็ม: 吳立紅; พินอิน: Wú Lìhóng; เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1968) หนึ่งในผู้นำนักสิ่งแวดล้อมซึ่งตีพิมพ์เรื่องมลภาวะของทะเลสาบไท่แห่งนี้ได้ถูกลงโทษจำคุกเป็นเวลา 3 ปี ในข้อหากรรโชกผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องให้เกิดมลภาวะขึ้น<ref name="IHT" /> มณฑลเจียงซูเคยมีการจัดวางแผนงานในการทำความสะอาดทะเลสาบ<ref>{{cite news|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/7065095.stm |title=China to clean up polluted lake |work=[[BBC News]] |date=October 27, 2007}}</ref> โดยมีนาย[[เวิน เจียเป่า]] เป็นประธาน ซึ่งเป็นผู้ตั้งเป้าหมายไว้ว่าจะทำให้ทะเลสาบไท่กลับสู่ภาวะปกติได้ภายในปี   ค.ศ. 2012.<ref>{{cite news|url=http://www.chinadaily.com.cn/cndy/2008-04/04/content_6591233.htm |title=Taihu cleanup plan |newspaper=China Daily - Across China: Beijing |date= April 4, 2008 |accessdate=April 20, 2008 |page=4}}</ref> อย่างไรก็ตาม ในปี ค.ศ. 2010 หนังสือพิมพ์ ''[[ดิอีโคโนมิสต์]]'' (''The Economist'') รายงานไว้ว่าความคืบหน้าในการแก้ปัญหามลภาวะของทะเลสาบไท่มีน้อยมาก จากการสำรวจและสัมภาษณ์ประชาชนในบริเวณโดยรอบทะเลสาบ พบว่ามีประชาชนจำนวนมากกล่าวว่าภาวะมลพิษยังคงมีอยู่ไม่แตกต่างจากสถานการณ์ในปี ค.ศ. 2007 ในขณะที่ Wu Lihong ผู้ซึ่งได้รับการปล่อยตัวหลังจากถูกคุมขังนาน ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2007 ได้กล่าวว่านักข่าวท้องถิ่นแจ้งว่ารัฐบาลพยายามปิดข่าวความล้มเหลวในการแก้ปัญหาและการระบาดเพิ่มขึ้นอย่างรุนแรงของสาหร่ายในทะเลสาบ<ref>''[[The Economist]]'', 7 August 2010 p 49.</ref>
 
== อ้างอิง ==