ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไอกิโด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Dexbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Parsoid bug phab:T107675
บรรทัด 475:
| last = Ledyard| first = George S.| title = Non-Traditional Attacks| publisher = www.aikiweb.com
|date=June 2002| url = http://www.aikiweb.com/training/ledyard3.html| accessdate = 29 July 2008| archiveurl= http://web.archive.org/web/20080725060329/http://www.aikiweb.com/training/ledyard3.html| archivedate= 25 July 2008 <!--DASHBot-->| deadurl= no}}</ref>
<nowiki> </nowiki>การเข้าทำที่อ่อนแอของ ''อูเกะ ''ทำให้ ''นาเกะ ''ตอบโต้แบบจำเจ และทำให้ขาดการพัฒนาความแข็งแรง และกล้ามเนื้อ ที่จำเป็นต่อการฝึกอย่างปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ ของทั้งคู่ <ref name="Pranin-aikido today"/> เพื่อรับมือกับสถานการณ์นี้ บางสไตล์ อนุญาตให้ผู้ฝึกลดการยอมกันลง หากฝึกได้นานแล้ว แต่ยังคงปรัชญาของการฝึกไว้ ซึ่งจะทำได้ก็ต่อเมื่อสามารถป้องกันตนเองและคู่ฝึกได้แล้วเท่านั้น โชโดคัง ไอคิโด้ [[Shodokan Aikido]] ได้แก้ปัญกาโดยการอนุญาตให้ผู้ฝึกแข่งขันกันได้อย่างจริงจัง <ref name="ACE"/> แต่การประยุกต์แบบนี้ก็ทำให้เกิดข้อโต้เถียง บ้างก็บอกว่าไม่มีความจำเป็นที่จะปรับวิธีเพราะ การวิจารณ์ไม่มีเหตุผล หรือไม่ก็ บอกว่าไม่ได้ฝึกป้องกันตัว หรือเพื่อการต่อสู้ แต่เพื่อจิตวิญญาน เพื่อสุขภาพ หรือเหตุผลอื่นๆ <ref>{{Cite web| last = Wagstaffe| first = Tony| title = In response to the articles by Stanley Pranin&nbsp;– Martial arts in a state of decline? An end to the collusion?| work = Aikido Journal| publisher = www.aikidojournal.com| date = 30 March 2007| url = http://www.aikidojournal.com/?id=3104| accessdate = 29 July 2008}}</ref>
 
นอกจากนั้น คำวิจารณ์ก็มีเกี่ยวกับช่วงบั้นปลายชีวิตของอาจารย์ อุเอชิบะ ที่อิวามะช่วง ค.ศ. 1942 - กลางปี 1950 ช่วงนั้น อาจารย์ได้เน้นการฝึกจิตวิญญาน และปรัชญาของไอคิโด้ ดังนั้น การโจมตีเข้าที่ จุดอันตรายโดยนาเกะ หรือ การเข้าอิริมิ หรือ การเริ่มเทคนิคโดยนาเกะ หรือ'' ''การแยกแยะระหว่างโอโมเตะกับ อูระเทคนิค หรือการใช้อาวุธ ก็ลดลง จนแทบจะหายไปจากการฝึก การขาดการฝึกในด้านต่างๆเหล่านี้ ทำให้คิดไปได้ว่า เป็นต้นเหตุของการสุญเสียประสิทธิภาพ ของผู้ฝึกไอคิโด้บางคน <ref name="Pranin-status quo">{{Cite journal| last = Pranin| first = Stanley| title = Challenging the Status Quo
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไอกิโด"