ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอไทรงาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 25:
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับ[[อำเภอบึงสามัคคี]]และ[[อำเภอทรายทองวัฒนา]]
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[อำเภอเมืองกำแพงเพชร]]
''''''ส่วนที่ ๑"
สภาพทั่วไป'''''
'''๑ ลักษณะที่ตั้ง'''
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกและห่างจากที่ตั้งศาลากลางจังหวัด กำแพงเพชรประมาณ ๔๕ กิโลเมตร
ทิศเหนือ ติดต่อกับ อำเภอลานกระบือ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอวชิรบารมี และ อำเภอสามง่าม (จังหวัดพิจิตร)
ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอบึงสามัคคี และ อำเภอทรายทองวัฒนา
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำเภอเมืองกำแพงเพชร
พื้นที่ : ๔๔๘.๙ ตารางกิโลเมตร
 
๒ ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ
ลักษณะทั่วไปของพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มดินเป็นดินปนทราย ไม่อุ้มน้ำ ไม่มีภูเขา ไม่มีแม่น้ำ ไหลผ่าน แต่เดิมพื้นที่อาณาบริเวณนี้เป็นเขตป่าเตรียมการสงวนตามมติคณะรัฐมนตรี
ตั้งเป็นกิ่งอำเภอไทรงาม เมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๘ ยกฐานเป็นอำเภอไทรงาม เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๒
ต่อมากระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โดยกรมป่าไม้ได้ออกกฏกระทรวง กำหนดให้พื้นที่ส่วนใหญ่ของอำเภอไทรงามเป็นเขต "ป่าสงวนแห่งชาติหนองคล้า - ดงฉัตร" ทั้ง ๆ ที่ก่อนหน้าในปีที่ประกาศนั้น สภาพความเป็นป่าไม่ได้หลงเหลืออยู่เลย ปัจจุบันกรมป่าไม้ได้มอบพื้นที่ป่าไม้ให้สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนำไปจัดสรรให้แก่เกษตรกร
ลักษณะอากาศ : ภูมิอากาศโดยทั่วไป เป็นแบบมรสุม มี ๓ ฤดู คือ
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ – กลางเดือนพฤษภาคม
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม – เดือนตุลาคม
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน - เดือนกุมภาพันธ์
 
'''๓ ประชากร'''
ประชากร : ๕๐,๘๐๐ คน (พ.ศ.๒๕๕๗)
ความหนาแน่น : ๑๐๓.๙๑ คน / ตารางกิโลเมตร
ลำดับที่ ตำบล จำนวนประชากร จำนวนครัวเรือน หมายเหตุ
ชาย หญิง รวม
๑ ไทรงาม ๔,๔๗๔ ๔,๖๐๑ ๙,๐๗๕ 3,457
๒ หนองคล้า ๒,๖๒๖ ๒,๕๐๙ ๕,๑๓๕ 1,480
๓ หนองทอง ๓,๓๕๑ ๓,๔๐๔ ๖,๗๕๕ 2,004
๔ หนองไม้กอง ๓,๓๓๙ ๓,๔๓๙ ๖,๗๗๘ 2,062
๕ มหาชัย ๓,๖๑๕ ๓,๕๙๘ ๗,๒๑๓ 2,267
๖ พานทอง ๓,๙๕๒ ๓,๙๗๙ ๗,๙๓๑ 2,231
๘ หนองแม่แตง ๓,๙๓๖ ๓,๙๗๗ ๗,๙๑๓ 2,117
รวมทั้งสิ้น ๒๕,๒๙๓ ๒๕,๕๐๗ ๕๐,๘๐๐ 15,618
ที่มา: สำนักทะเบียนอำเภอไทรงาม
 
 
๔ โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐาน
การคมนาคม : ถนนทางหลวงแผ่นดินกำแพงเพชร – พิจิตรตัดผ่าน
ไฟฟ้า : มีไฟฟ้าครบทุกหมู่บ้าน (๗๑ หมู่บ้าน)
ประปา : มีน้ำประปาใช้ครบทุกหมู่บ้าน (๗๑ หมู่บ้าน)
 
๕ การเมืองการปกครอง
๑.) การปกครองท้องที่
แบ่งพื้นที่การปกครองตามพระราชบัญญัติ ลักษณะปกครอง ท้องที่ออกเป็น ๗ ตำบล ๗๑ หมู่บ้าน ดังนี้
๑. ตำบลไทรงาม ประกอบด้วยหมู่บ้าน ๑๐ หมู่บ้าน
๒. ตำบลหนองคล้า ประกอบด้วยหมู่บ้าน ๘ หมู่บ้าน
๓. ตำบลหนองทอง ประกอบด้วยหมู่บ้าน ๑๐ หมู่บ้าน
๔. ตำบลหนองไม้กอง ประกอบด้วยหมู่บ้าน ๑๐ หมู่บ้าน
๕. ตำบลมหาชัย ประกอบด้วยหมู่บ้าน ๑๒ หมู่บ้าน
๖. ตำบลพานทอง ประกอบด้วยหมู่บ้าน ๑๐ หมู่บ้าน
๗. ตำบลหนองแม่แตง ประกอบด้วยหมู่บ้าน ๑๑ หมู่บ้าน
๒.) การปกครองท้องถิ่น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ ๘ แห่ง ดังนี้
๑. เทศบาลตำบลไทรงาม
๒. องค์การบริหารส่วนตำบลไทรงาม
๓. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองคล้า
๔. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองทอง
๕. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองไม้กอง
๖. องค์การบริหารส่วนตำบลมหาชัย
๗. องค์การบริหารส่วนตำบลพานทอง
๘. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองแม่แตง
๓.) การแบ่งเขตการเลือกตั้ง
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประกอบด้วย ๒ เขตเลือกตั้ง ดังนี้
๑. เขตเลือกตั้งที่ ๒ ได้แก่ ตำบลมหาชัย ตำบลพานทอง ตำบลหนองทอง ตำบลหนองคล้า๒. เขตเลือกตั้งที่ ๔ ได้แก่ ตำบลไทรงาม ตำบลหนองไม้กอง ตำบลหนองแม่แตง
๖ การศึกษา
มีสถานศึกษาจำนวน ๓๑ แห่ง แยกเป็น
๑. โรงเรียนมัธยม จำนวน ๒๙ แห่ง
๒. โรงเรียน จำนวน ๒ แห่ง
 
 
๗ การศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธประมาณร้อยละ ๙๙.๖๖ นับถือศาสนาอื่นประมาณร้อยละ ๐.๓๔ มีวัด ๔๙ แห่ง ที่พักสงฆ์ ๒ แห่ง
ประเพณีสำคัญ ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ การทำบุญกลางบ้าน การทำบุญเข้าพรรษา – ออกพรรษา ประเพณีบุญปั้งไฟและประเพณีลอยกระทง
แหล่งข้อมูลทางวัฒนธรรม : ศูนย์ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนตำบลไทรงาม
: ศูนย์เพิ่มพูนคุณธรรมจริยธรรมวัดไทรงาม
วัฒนธรรมท้องถิ่น สืบเนื่องจากการอพยพของผู้คนในภาคต่าง ๆ ที่เข้ามาอยู่อาศัยและทำมาหากิน
ในพื้นที่อำเภอไทรงาม จึงมีความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม ดังนี้
๑. วัฒนธรรมของชาวไทยโซ่ง กลุ่มชาวไทยโซ่ง อพยพมาจากจังหวัดเพชรบุรี อยู่ที่บ้านสักขี หมู่ที่ ๒ ตำบลหนองไม้กอง และในปัจจุบันได้แยกหมู่บ้านอีกหนึ่งหมู่บ้าน คือ หมู่ที่ ๑๐ ตำบลหนองไม้กอง ชาวไทยโซ่งมีความเชื่อที่แตกต่างไปจากวิธีชีวิตของชนกลุ่มอื่น ๆ เชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรม และเชื่อว่าสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอยู่ภายใต้อำนาจของผีและสิ่งเหนือธรรมชาติ พิธีกรรมต่าง ๆ จึงมีความสัมพันธ์กับ สิ่งเหนือธรรมชาติ อาทิเช่นพิธีเรียกผีเข้าบ้าน : เมื่อบรรพบุรุษเสียชีวิตลง จะมีการทำพิธีเรียกผีเข้าบ้านเพื่อปกปักรักษาลูกหลานให้มีความสุข โดยจะจัดให้มีที่อยู่เฉพาะที่เรียกว่า “กะล่อหอง”
๒. วัฒนธรรมของชายไทยอีสาน กลุ่มชายไทยอีสาน อพยพมาจากจังหวัดมหาสารคาม
กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด ฯลฯ ถึงแม้วีชีวิตจะเปลี่ยนไปตามยุคสมัย แต่สิ่งหนึ่งที่ชาวอีสานในไทรงามยึดถือปฏิบัติกันอยู่คือ “ประเพณีบุญบั้งไฟ”หรืองานบุญเดือนหก เกิดจากความเชื่อและเป็นการเสี่ยงทายขอฝนตากเทวดา โดยเชื่อว่าถ้าปีใดไม่จัดงาน “ประเพณีบุญบั้งไฟ” จะเกิดความแห้งแล้ง ข้าวยากหมากแพง
 
๘. อาชีพ รายได้ของประชากร
อาชีพหลัก : เกษตรกรรม
• ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว อ้อย ข้าวโพด มันสำปะหลัง
• แหล่งน้ำที่สำคัญได้แก่ คลองส่งน้ำท่อทองแดง
อาชีพเสริม : รับจ้าง อุตสาหกรรมในครัวเรือน หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
จำนวนธนาคาร : มี ๑ แห่ง ได้แก่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
โทร.๐๕๕-๗๙๑๑๑๒
 
'''ส่วนที่ ๒
การวิเคราะห์ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
'''
๒.๑ ข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจ
๑. รายได้ของประชากร : จากการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ปี ๒๕๕๔-๒๕๕๖
ลำดับที่ ตำบล รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี (บาท)
๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖
๑ ไทรงาม ๑๐๔,๕๖๓.๖๗ ๙๓,๓๐๑
๒ หนองคล้า ๙๐,๕๓๓.๐๙ ๘๑,๗๒๖
๓ หนองทอง ๘๔,๔๖๔.๕๔ ๘๙,๒๘๒
๔ หนองไม้กอง ๘๑,๒๙๓.๒๒ ๑๒๕,๑๗๗
๕ มหาชัย ๗๘,๘๖๕.๗๘ ๖๖,๖๗๓
๖ พานทอง ๗๑,๖๓๗.๘๑ ๗๐,๕๙๕
๗ หนองแม่แตง ๖๙,๘๖๑.๓๕ ๗๒,๖๕๗
ยอดรวมรายปี
เฉลี่ยรายได้ต่อคนต่อปี ๘๑,๑๖๔.๗๒ ๘๕,๖๓๐
 
๒. การจัดเก็บภาษีอากรอำเภอไทรงาม : สำนักงานสรรพากรเขตพื้นที่อำเภอไทรงาม
ปีภาษี ยอดจัดเก็บ (ล้านบาท)
๒๕๕๔ ๔.๖๗๘
๒๕๕๕ ๖.๘๒๓
๒๕๕๖ ๗.๕๘๓
 
๓. รายได้ : องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเขตพื้นที่อำเภอไทรงาม
ลำดับที่ ตำบล ยอดการจัดเก็บ
๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖
๑ ไทรงาม
๒ หนองคล้า
๓ หนองทอง 26,368,244.10 20,081,146.10 21,284,153.33
๔ หนองไม้กอง 19,241,101.26 18,755,916.03 21,755,958.44
๕ มหาชัย 21,176,935.63 22,681,063.05 16,893,415.72
๖ พานทอง 38,195,668.27
๗ หนองแม่แตง 18,456,265.94 22,567,300.00 22,567,300.00
ยอดรวมรายปี
 
 
๒.๒ ด้านสังคม
๑. จำนวนประชากรแยกตามช่วงอายุ
ช่วงอายุ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
น้อยกว่า ๑ ปี 156 53 1.01
1 – 2 ปี 520 98 1.88
3 – 5 ปี 1,124 203 3.89
6 – 11 ปี 2,396 475 9.09
12 – 14 ปี 1,421 246 4.71
15 – 17 ปี 1,285 252 4.82
18 – 25 ปี 2,347 555 10.63
26 – 49 ปี 8,980 1832 35.08
50 – 60 ปี 4,180 812 15.55
มากกว่า 60 ปี 3,790 697 13.34
๒. อัตราการเกิด
ข้อมูล ปี ๒๕๕๔ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖
๓. อัตราการหย่าร้างจากการจดทะเบียนสมรส ในปี ๒๕๕๔ เท่ากับ ร้อยละ ๓๑.๕๙
ข้อมูล ปี ๒๕๕๔ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖
การสมรส
การหย่าร้าง
อัตราการหย่าเปลี่ยนแปลง (%)
๔. อัตราการเสียชีวิต
ข้อมูล ปี ๒๕๕๔ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖
๖. การวิเคราะห์ข้อมูลด้านความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย
สถานการณ์ด้านความมั่นคง
สถานการณ์ปัญหายาเสพติดในปัจจุบัน ยังปรากฏปัญหายาเสพติดหลงเหลืออยู่ในบางส่วน ได้แก่
๑. การป้องกันเยาวชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มที่มีอัตราเสี่ยงสูง การลดปัจจัย/เงื่อนไขด้านลบที่เอื้ออำนวยต่อการแพร่ระบาดของยาเสพติด ซึ่งมีแนวโน้มปัญหาจะเพิ่มมากขึ้นหากไม่มีมาตรการเฝ้าระวังที่เข้มงวด
๒. คุณภาพและความเข้มแข็งของพลังภาคประชาชนในช่วงที่ผ่านมาอ่อนลง ทำให้ไม่สามารถรักษาพื้นที่ไว้ได้ มีบางหมู่บ้านยังมีโอกาสสถานการณ์หวนกลับ
จุดมุ่งเน้นปฏิบัติการ จะมุ่งเน้นต่อการดำเนินงานในพื้นที่ที่มีปัญหาเป้าหมายตามการข่าวของ ปปส. และกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน ด้วยการใช้มาตรการทางกฎหมายอย่างบริสุทธิ์ยุติธรรม เพื่อลดระดับปัญหายาเสพติด
สถานการณ์ด้านความสงบเรียบร้อย
พื้นที่เป็นส่วนในของจังหวัดกำแพงเพชรไม่มีแนวเขตติดชายแดน ทำให้ไม่มีปัญหาด้านความขัดแย้งของประชาชนในพื้นที่
 
'''ส่วนที่ ๓
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis)'''
จุดแข็ง (Strength:S) จุดอ่อน (Weakness:W)
๑.๑ สภาพพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมในการเพาะปลูก
๑.๒ ประชาชนส่วนใหญ่มีวิถีชีวิตที่เรียบง่ายและยังมีความเป็นชนบทหลงเหลืออยู่
๑.๓ ประชาชนมีนิสัยขยัน อดทน และรักถิ่นฐานของตน
๑.๔ ประชาชนมีความเลื่อมใสพุทธศาสนาและในทางการเมืองทุกระดับ
๑.๕ ประชาชนมีการเรียนรู้และรับทราบข้อมูลข่าวสารเป็นอย่างดี
๑.๖ เป็นแหล่งปลูกข้าวพันธุ์ดี
๑.๗ มีกองทุนหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน
๑.๙ มีประเพณีอันดีงามสืบทอดกันมา
๑.๑๐มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปีค่อนข้างสูง มีแหล่งน้ำ คลองส่งน้ำท่อทองแดง
๒.๑ มีความเบี่ยงเบนทางวัฒนธรรมและค่านิยมที่ไม่ถูกต้อง
๒.๒ การอพยพออกนอกพื้นที่เพื่อหางานทำยังมีมาก
๒.๓ ประชาชนวัยทำงานมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่เสี่ยงต่อโรคภัยไข้เจ็บหรือป่วยเรื้อรัง
๒.๔ ประชาชนยังขาดจิตสำนึกและการเรียนรู้ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างถูกต้อง
๒.๕ ไม่มีแหล่งเก็บกักน้ำไว้ใช้ประโยชน์อย่างเพียงพอ ระบบชลประทานเพื่อการเกษตรมีไม่ทั่วถึง
๒.๖ เกษตรกรส่วนใหญ่มีหนี้สินขาดการเก็บออมหรือไม่มีวินัยในการใช้จ่าย
๒.๗ ประชาชนส่วนใหญ่มีรายได้จากภาคการเกษตรเป็นหลักและประสบปัญหาภัยแล้งและน้ำท่วมราคาผลผลิตตกต่ำ
๒.๘ ประชาชนส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับประถมศึกษาขาดแรงจูงใจในการเรียนต่อจำนวนมาก
๒.๙ สภาพครอบครัวอ่อนแอ ขาดความอบอุ่นในครอบครัว
๒.๑๐ประชาชนขาดทักษะพัฒนาอาชีพ และทักษะความรู้ ความสามารถ ในการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ตลาด
๒.๑๑ ขาดตลาดกลาง/สถาบันการเงินในพื้นที่
๒.๑๒ การคมนาคมขนส่งในพื้นที่ส่วนใหญ่ไม่ได้มาตรฐาน
๒.๑๓ ขาดการบูรณาการงานของส่วนราชการในระดับพื้นที่
๒.๑๔ ความยากจนและหนี้สินของประชากร
๒.๑๕ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมยังขาดความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการและด้านการผลิต การตลาด ขาดอาชีพเสริม ไม่มีที่ดินเป็นของตนเอง
๒.๑๖ ปัญหาการทะเลาะวิวาทของเยาวชนตามงานประเพณี
 
โอกาส (Opportunity:O) ข้อจำกัด/อุปสรรค (Threa:T)
๑ นโยบายของรัฐสนับสนุนให้อำเภอ จัดทำแผนพัฒนา
อำเภอและเสนอของบประมาณ เพื่อขอรับการ
สนับสนุนงบประมาณจากจังหวัดและส่วนกลางได้
๒ หน่วยงานภาครัฐ/เอกชนจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาหมู่บ้านตำบลเพิ่มศักยภาพและความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่
๓ นโยบายของรัฐบาลมีส่วนส่งเสริมสนับสนุนให้มีแหล่งเงินทุนประจำหมู่บ้านสำหรับประกอบอาชีพ เช่นกองทุนหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน
๔ รัฐบาลมีนโยบายในการแก้ไขปัญหาความยากจนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและจัดสรรงบประมาณให้ทุกหมู่บ้าน
๕ มีเส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงเส้นทางขนส่งของจังหวัด สำหรับการติดต่อส่วนราชการและขนส่งผลผลิตทางการเกษตรระหว่างหมู่บ้านและตัวเมือง ทุกหมู่บ้าน
๖ นโยบายของรัฐสนับสนุนให้มีศูนย์องค์ความรู้ทางการเกษตรระดับชุมชนเพื่อให้มีเทคโนโลยีในการพัฒนาโครงสร้างการเกษตร
๑ ภัยธรรมชาติเกิดขึ้นทุกปี (ภัยแล้งและอุทกภัย)
๒ ความไม่ต่อเนื่องของนโยบายรัฐบาลในการสนับสนุน
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
๓ สินค้าอุปโภค บริโภคที่จำเป็นมีราคาแพง
๔ ปัจจัยการผลิต มีผลกระทบต่อความเป็นอยู่และการ
ประกอบอาชีพ
๕ ปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติด ยังมีบางพื้นที่
๖ ภัยธรรมชาติเกิดขึ้นทุกปี (ภัยแล้งและอุทกภัย)
๗ ความไม่ต่อเนื่องของนโยบายรัฐบาลในการสนับสนุน
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
๘ สินค้าอุปโภค บริโภคที่จำเป็นมีราคาแพง
๙ ปัจจัยการผลิตมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่และการ
ประกอบอาชีพ
๑๐ ปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติด ยังมีบางพื้นที่
 
'''ส่วนที่ ๔
แผนยุทธศาสตร์พัฒนาอำเภอ'''
วิสัยทัศน์จังหวัด : เป็นศูนย์กลางธุรกิจข้าว สินค้าเกษตร การท่องเที่ยวธรรมชาติและวัฒนธรรมล้ำค่า”
วิสัยทัศน์อำเภอไทรงาม : เมืองร่มเย็น เกษตรอินทรย์ก้าวหน้า มุ่งพัฒนาแบบพอเพียง
 
พันธกิจ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ การขจัดปัญหาความยากจน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาคนและสังคมการเรียนรู้
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมด้านความมั่นคง ความปลอดภัย และการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๖ การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐมีประสิทธิภาพ
 
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ การขจัดปัญหาความยากจน
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
การขจัดปัญหาความยากจน
๑ การเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตทางการเกษตร
๒ การส่งเสริมและพัฒนากลุ่มเกษตรกรและผลิตภัณฑ์ชุมชน
๓ การพัฒนากลไกและช่องทางการตลาดสำหรับเกษตรกรและกลุ่มเกษตรกร
๑.ความสามารถในการผลิตทางการเกษตรเพิ่มสูงขึ้น
๒.เพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรและรายได้ของเกษตรกร
๓. ผลิตภัณฑ์ชุมชนของอำเภอได้มาตรฐานตรงตามความต้องการของตลาด
๔. ช่องทางการกระจายสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนมีมากขึ้น
๑. ผลผลิตทางการเกษตรของอำเภอเพิ่มสูงขึ้น
๒. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
๓. ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้รับการรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้น
๔. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง (มีผลิตภัณฑ์ และการผลิต สินค้า)
ร้อยละ ๗
ร้อยละ ๔
ร้อยละ ๖
ร้อยละ ๕
 
ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ
๑.การขจัดปัญหาความยากจน
๑.๑ การเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตทางการเกษตร
๑.๑.๑ปรับปรุงแหล่งน้ำตามธรรมชาติให้สามารถใช้เพื่อการเกษตรได้อย่างเพียงพอ
๑.๑.๒ เผยแพร่ (และส่งเสริมการใช้)เทคโนโลยีในการปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มความสมบูรณ์ของดิน
๑.๑.๓ ส่งเสริมให้มีการผลิตและการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ
๑.๑.๔ ส่งเสริมให้มีการจัดทำแหล่งน้ำขนาดเล็กในไร่นา
๑.๑.๕ ส่งเสริมการทำการเกษตรที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน
๑.๑.๖ สนับสนุนให้เกษตรกรในพื้นที่ทำการเกษตรตามแนวทางของเกษตรอินทรีย์เพื่อลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้
๑.๑.๗ ส่งเสริมให้มีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการปรับปรุงการผลิตทางการเกษตรเพื่อลดต้นทุนการผลิต
 
๑.๒ การส่งเสริมและพัฒนากลุ่มเกษตรกรและผลิตภัณฑ์ชุมชน
๑.๒.๑ ส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน
๑.๒.๒ พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้จากฐานการผลิตทางการเกษตรของอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร
๑.๒.๓ เพิ่มศักยภาพการผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ได้มาตรฐาน
๑.๒.๔ เสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกร
๑.๒.๕ ส่งเสริมความรู้และอาชีพให้เกษตรกรรายปัจเจกสามารถพึ่งตนเองได้(เศรษฐกิจพอเพียง)
 
๑.๓ การพัฒนากลไกและช่องทางการตลาดสำหรับเกษตรกรและกลุ่มเกษตรกร ๑.๓.๑ ส่งเสริมให้มีสหกรณ์ในระดับชุมชน
๑.๓.๒ จัดหาช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนสำหรับเกษตรกร และกลุ่มเกษตรกร
 
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
การพัฒนาเกษตรธรรมเทค 30,000 30,000 450,000 อบต.หนองแม่แตง
95,000 95,000 95,000 อบต.ไทรงาม
- - 770,000 อบต.มหาชัย
50,000 110,000 60,000 อบต.หนองคล้า
80,000 65,000 55,000 อบต.หนองทอง
6,065,000 935,000 1,473,400 อบต.พานทอง
25,000 35,000 25,000 อบต.หนองไม้กอง
การส่งเสริมอาชพีให้แก่ประชาชน - - - อบต.หนองแม่แตง
80,000 230,000 230,000 อบต.ไทรงาม
300,000 135,000 350,000 อบต.มหาชัย
30,000 410,000 260,000 อบต.หนองคล้า
600,000 70,000 600,000 อบต.หนองทอง
2,050,000 205,500 2,050,000 อบต.พานทอง
380,000 140,000 200,000 อบต.หนองไม้กอง
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาคนและสังคมการเรียนรู้
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
๒. การพัฒนาคนและสังคมการเรียนรู้
เพื่อให้คนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ และเป็นกลไกการพัฒนาที่ยั่งยืน มีศักยภาพในการแข่งขัน รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรมอันจะนำไปสู่สังคมฐานความรู้
๑. ความต่อเนื่องและการใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้
๒. ศูนย์เด็กเล็กที่ได้มาตรฐานเพิ่มขึ้น
๓. เกิดเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านเพื่อการพัฒนา
๔. พฤติกรรมสุขภาพโดยรวมของประชาชนดีขึ้น
๕. บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศเพิ่มขึ้น
๖. มีกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
๗. การเข้าถึงสื่อหรือแหล่งเรียนรู้ของเยาวชน
เพิ่มขึ้น
ไม่เกินร้อยละ ๕๐
 
ร้อยละ ๘๐
๑ เครือข่าย
ร้อยละ ๘๐
อย่างน้อยปีละ ๑ คน
 
ร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านทั้งหมด
ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียนทั้งหมด
 
 
ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ
การพัฒนาคนและสังคมการเรียนรู้
๒.๑ เพิ่มศักยภาพผู้นำชุมชนในด้านการบริหารจัดการองค์กร
๒.๒ การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กให้ได้มาตรฐาน
๒.๓ จัดหาและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
๒.๔ ส่งเสริมและพัฒนาบุลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
๒.๕ สนับสนุนให้มีการจัดทำข้อบังคับ และการแพร่กระจายความรู้เพื่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
๒.๖ ฟื้นฟูค่านิยมที่ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันของคนต่างวัยและเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุนำความรู้และประสบการณ์มาทำประโยชน์เพื่อสังคม
๒.๗ จัดหาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับเยาวชนทั้งในและนอกระบบโรงเรียนให้เพียงพอ
๒.๘ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มของปราชญ์ชาวบ้านเพื่อเป็นกลไกในการพัฒนาที่ยั่งยืน
๒.๙ ส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับประชาชนเพื่อการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๒.๑๐ เสริมสร้าง และพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมสำหรับประชาชน
๒.๑๑ จัดหาลานกีฬา และสวนสาธารณะสำหรับประชาชน
 
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
พัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานในระบบ ๑๒ ปี 5,930,000 5,980,000 6,300,000 อบต.หนองแม่แตง
842,200 8,422,000 842,000 อบต.ไทรงาม
7,187,600 7,079,600 7,147,600 อบต.มหาชัย
1,730,000 2,204,000 1,700,000 อบต.หนองคล้า
4,040,000 4,180,000 4,390,000 อบต.หนองทอง
5,300,000 5,300,000 5,300,000 อบต.พานทอง
3,746,000 5,010,000 5,010,000 อบต.หนองไม้กอง
แนวทางพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบ - - - อบต.หนองแม่แตง
180,000 280,000 280,000 อบต.ไทรงาม
- - 250,000 อบต.มหาชัย
- 300,000 100,000 อบต.หนองคล้า
- - - อบต.หนองทอง
222,000 222,000 222,000 อบต.พานทอง
- 50,000 - อบต.หนองไม้กอง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
แนวทางพัฒนาระบบการศึกษาของท้องถิ่นสู่ความเป็นสากล - - - อบต.หนองแม่แตง
250,000 250,000 250,000 อบต.ไทรงาม
- - - อบต.มหาชัย
- - - อบต.หนองคล้า
- - - อบต.หนองทอง
- - - อบต.พานทอง
- - - อบต.หนองไม้กอง
แนวทางการพัฒนาแหล่งข้อมูลข่าวสารของประชาชน 80,000 80000 280,000 อบต.หนองแม่แตง
240,000 240,000 240,000 อบต.ไทรงาม
- - - อบต.มหาชัย
80,000 80,000 230,000 อบต.หนองคล้า
123,000 73,000 123,000 อบต.หนองทอง
140,000 110,000 190,000 อบต.พานทอง
870,000 170,000 220,000 อบต.หนองไม้กอง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
การพัฒนาส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 100,000 100,000 1,780,000 อบต.หนองแม่แตง
80,000 230,000 230,000 อบต.ไทรงาม
- - - อบต.มหาชัย
400,000 600,000 400,000 อบต.หนองคล้า
- - - อบต.หนองทอง
100,000 100,000 100,000 อบต.พานทอง
- - 10,000 อบต.หนองไม้กอง
การพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและพัฒนาศักยภาพของชุมชน ประชาชนในทุกด้าน 503,000 303,000 372,000 อบต.หนองแม่แตง
450,000 240,000 190,000 อบต.ไทรงาม
232,000 50,000 510,000 อบต.มหาชัย
580,000 580,000 580,000 อบต.หนองคล้า
190,000 105,000 75,000 อบต.หนองทอง
70,000 1,210,000 800,000 อบต.พานทอง
110,000 110,000 110,000 อบต.หนองไม้กอง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
การส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน 310,000 210,000 630,000 อบต.หนองแม่แตง
300,000 300,000 300,000 อบต.ไทรงาม
- - - อบต.มหาชัย
7,550,000 7,660,000 8,000,000 อบต.หนองคล้า
350,000 410,000 480,000 อบต.หนองทอง
440,000 440,000 440,000 อบต.พานทอง
390,000 360,000 380,000 อบต.หนองไม้กอง
การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 2,200,000 2,200,000 3,130,000 อบต.หนองแม่แตง
260,000 260,000 260,000 อบต.ไทรงาม
7,160,000 7,160,000 7,280,000 อบต.มหาชัย
- - - อบต.หนองคล้า
8,862,000 6,960,000 6,980,000 อบต.หนองทอง
160,000 160,000 160,000 อบต.พานทอง
8,680,400 8,420,000 8,420,000 อบต.หนองไม้กอง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
ส่งเสริมกีฬานันทนาการและศาสนาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี 1,280,000 1,285,000 1,535,000 อบต.หนองแม่แตง
1,010,000 730,000 730,000 อบต.ไทรงาม
575,000 - - อบต.มหาชัย
1,300,000 2,410,000 2,045,000 อบต.หนองคล้า
930,000 1,005,000 625,000 อบต.หนองทอง
83,000 83,000 93,000 อบต.พานทอง
1,350,000 1,275,000 1,275,000 อบต.หนองไม้กอง
พัฒนาหลักสุขาภิบาลและสถานที่ ที่อยู่อาศัย 100,000 100,000 100,000 อบต.หนองแม่แตง
- - - อบต.ไทรงาม
- - - อบต.มหาชัย
50,000 50,000 50,000 อบต.หนองคล้า
- - - อบต.หนองทอง
- - - อบต.พานทอง
200,0000 200,000 200,000 อบต.หนองไม้กอง
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
 
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
๓. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
มีโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุน และรองรับการขยายตัวของประชากร และเศรษฐกิจของอำเภอ
๑ แหล่งน้ำเพื่อการบริโภคและอุปโภคเพียงพออุปโภคและบริโภค
๒. เส้นทางคมนาคมได้รับการปรับปรุงให้ สามารถใช้งานและเชื่อมต่อกันได้
๓. ทางระบายน้ำปรับปรุงสามารถระบายน้ำได้
๔. จัดระบบผังเมืองที่เหมาะสม)
ทุกหมู่บ้าน
ทุกหมู่บ้าน
ทุกหมู่บ้าน
ทุกหมู่บ้าน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ
๓.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
๓.๑ จัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภคให้เพียงพอ
๓.๒ ปรับปรุงและพัฒนาเส้นทางคมนาคมภายในอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณให้มีความสะดวก
๓.๓ จัดทำทางระบายน้ำให้สามารถระบายน้ำได้
๓.๔ จัดทำผังเมือง
 
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
การก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษาถนน สะพาน ทางเท้า ท่อระบายน้ำ และท่าเทียบเรือ ๖,๔๐๐,๐๐๐ ๗,๖๐๐,๐๐๐ ๑๐,๕๐๐,๐๐๐ อบต.หนองแม่แตง
๕,๕๓๑,๐๐๐ ๕,๒๗๑,๐๐๐ ๕,๒๗๑,๐๐๐ อบต.ไทรงาม
๑,๗๔๗,๐๐๐ ๑,๔๔๔,๐๐๐ ๓๐,๕๒๙,๘๐๐ อบต.มหาชัย
๑,๘๐๐,๐๐๐ ๖,๒๕๐,๐๐๐ ๕๘,๔๐๐,๐๐๐ อบต.หนองคล้า
๒,๐๑๕,๐๐๐ ๕,๙๕๐,๐๐๐ ๑,๒๕๐,๐๐๐ อบต.หนองทอง
๑๘,๖๙๔,๓๐๒ ๕๐,๑๓๔,๙๔๐ ๓๓,๙๓๑,๕๐๐ อบต.พานทอง
๗,๔๐๐,๐๐๐ ๙,๒๙๕,๐๐๐ ๑๔,๐๙๕,๐๐๐ อบต.หนองไม้กอง
การพัฒนา ก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษาสิ่งสาธารณูปโภค สาธารณูปการและสิ่งก่อสร้างอื่น ๖๗๐,๐๐๐ ๕๕๐,๐๐๐ ๒,๒๕๐,๐๐๐ อบต.หนองแม่แตง
๓๘๐,๐๐๐ ๙๓๐,๐๐๐ ๙๓๐,๐๐๐ อบต.ไทรงาม
๘๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๙๐๐,๐๐๐ อบต.มหาชัย
๑,๐๐๐,๐๐๐ ๔,๑๐๐,๐๐๐ - - - - อบต.หนองคล้า
๒,๕๕๕,๐๐๐ ๒,๕๗๐,๐๐๐ ๑,๓๘๐,๐๐๐ อบต.หนองทอง
๔,๘๑๕,๐๐๐ ๓,๒๓๙,๐๐๐ ๘๕๐,๐๐๐ อบต.พานทอง
๒,๓๐๐,๐๐๐ ๔,๘๒๗,๕๐๐ ๒,๓๙๕,๐๐๐ อบต.หนองไม้กอง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
การพัฒนาปรับปรุงสถานีขนส่งและระบบจราจร - - ๑๙๐,๐๐๐ - - - อบต.หนองแม่แตง
๒๕๐,๐๐๐ ๒๕๐,๐๐๐ ๒๕๐,๐๐๐ - - - อบต.ไทรงาม
๖๔๘,๐๐๐ ๕๕๐,๐๐๐ ๘๐๐,๐๐๐ อบต.มหาชัย
๘๐,๐๐๐ ๓๕๐,๐๐๐ - อบต.หนองคล้า
๔๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐ - อบต.หนองทอง
๑๐๐,๐๐๐ ๑๐๐,๐๐๐ ๑๐๐,๐๐๐ อบต.พานทอง
๒๐๐,๐๐๐ ๑๐๐,๐๐๐ ๑๐๐,๐๐๐ อบต.หนองไม้กอง
การพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค ระบบประปา ๓๒๐,๐๐๐ ๓๐๐,๐๐๐ ๗๔๐,๐๐๐ อบต.หนองแม่แตง
๘๖๖,๔๐๐ ๑,๐๖๖,๔๐๐ ๑,๐๕๗,๔๐๐ อบต.ไทรงาม
3,600,000 ๔๐๐,๐๐๐ ๒๒,๖๓๐,๐๐๐ อบต.มหาชัย
๑๐๐,๐๐๐ ๒,๔๐๐,๐๐๐ ๑๔,๓๕๐,๐๐ อบต.หนองคล้า
๔๐,๐๐๐ 440,000 ๑,๓๙๐,๐๐๐ อบต.หนองทอง
๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๒๐๐,๐๐๐ อบต.พานทอง
๑,๓๕๐,๐๐๐ ๑,๗๕๐,๐๐๐ ๔,๑๒๐,๐๐๐ อบต.หนองไม้กอง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
การพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน 600,000 400,000 3,200,000 อบต.หนองแม่แตง
2,600,000 2,600,000 2,600,000 อบต.ไทรงาม
- - - อบต.มหาชัย
- - - อบต.หนองคล้า
- - - อบต.หนองทอง
- - - อบต.พานทอง
๑,๐๗๐,๐๐๐ ๑,๕๕๐,๐๐๐ ๑,๖๐๐,๐๐๐ อบต.หนองไม้กอง
การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น 56,000 56,000 56,000 อบต.หนองแม่แตง
110,000 100,000 110,000 อบต.ไทรงาม
308,000 50,000 1,540,000 อบต.มหาชัย
150,000 150,000 150,000 อบต.หนองคล้า
30,000 50,000 56,600 อบต.หนองทอง
50,000 50,000 50,000 อบต.พานทอง
30,000 30,000 30,000 อบต.หนองไม้กอง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
การวางแผนจัดทำผังเมือง - - - - - - อบต.หนองแม่แตง
๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ - - - อบต.ไทรงาม
- - ๒๐๐,๐๐๐ - - - อบต.มหาชัย
- ๓๐๐,๐๐๐ - - - - อบต.หนองคล้า
- ๗๐๐,๐๐๐ - - - - อบต.หนองทอง
๒๐,๐๐๐ ๒๐,๐๐๐ ๒๐,๐๐๐ - - - อบต.พานทอง
๕๐๐,๐๐๐ ๑๐๐,๐๐๐ ๑๐๐,๐๐๐ - - - อบต.หนองไม้กอง
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมด้านความมั่นคง ความปลอดภัย และการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
๔. การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมด้านมั่นคง ความปลอดภัย และการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย
เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัติรย์ทรงเป็นประมุข ให้กับประชาชน และเสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเข้ามามีบทบาทในการสร้างสังคมอันพึงประสงค์
๑. การมีส่วนร่วมในการใช้สิทธิเลือกตั้งของประชาชนทุกระดับเพิ่มสูงขึ้น
๒. คดีเกี่ยวกับปัญหายาเสพติด
๓. การทะเลาะของเยาวชนลดลง
๔. เกิดกลุ่มองค์กรประชาชนที่เข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการทำผิดทางกฎหมาย
๕. เกิดกลุ่มและเครือข่ายเยาวชนที่เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมที่รับผิดชอบต่อสังคม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐
ไม่เกิน ๑ คน /พันประชากร
ไม่เกิน ๑ คน/พันประชากร
ทุกตำบล ทุกหมู่บ้าน
ทุกตำบล ทุกโรงเรียน
 
ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ
๔. การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมด้านความมั่นคง ความปลอดภัย และการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย
๔.๑ เผยแพร่ความรู้ และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยขั้นพื้นฐานสำหรับประชาชน
๔.๒ ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในเฝ้าระวังและการป้องกันการทำผิดกฎหมาย ลดปัญหาอาชญากรรม
๔.๓ ส่งเสริมให้ปลอดสุราและเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในงานศพ และงานบุญประเพณีต่างๆ
๔.๔ ส่งเสริม(รณรงค์)ให้ประชาชนลด ละ เลิก อบายมุข ในงานบุญประเพณีต่าง ๆ
๔.๕ สนับสนุนให้เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคม
๔.๖ พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด และผู้มีอิทธิพล
 
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 1,080,000 1,020,000 1,080,000 อบต.หนองแม่แตง
1,020,950 1,020,950 1,020,950 อบต.ไทรงาม
90,000 60,000 130,000 อบต.มหาชัย
430,000 510,000 1,310,000 อบต.หนองคล้า
600,000 520,000 320,000 อบต.หนองทอง
350,000 350,000 300,000 อบต.พานทอง
350,000 350,000 350,000 อบต.หนองไม้กอง
การรักษาความสงบเรียบร้อยและปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 543,500 543,500 593,500 อบต.หนองแม่แตง
40,000 40,000 40,000 อบต.ไทรงาม
478,000 160,000 1,650,000 อบต.มหาชัย
200,000 200,000 200,000 อบต.หนองคล้า
210,000 140,000 101,250 อบต.หนองทอง
925,000 925,000 925,000 อบต.พานทอง
375,000 375,000 375,000 อบต.หนองไม้กอง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
การจัดระเบียบชุมชนและสังคม - - อบต.หนองแม่แตง
267,000 240,000 240,000 อบต.ไทรงาม
250,000 200,000 710,000 อบต.มหาชัย
- 60,000 - อบต.หนองคล้า
- - - อบต.หนองทอง
- - - อบต.พานทอง
110,000 110,000 110,000 อบต.หนองไม้กอง
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
๕. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรอย่างยั่งยืน ส่งเสริมความรู้สร้างความตระหนัก และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
๕.๑ บริหารจัดการและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน และหรือองค์กรประชาชน
๕.๒ มีการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อม
พื้นที่ป่าชุมชน
๗ ตำบล
๗๑ หมู่บ้าน
ร้อยละ ๑๐๐
 
 
ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ
๕. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๕.๑ การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาเพื่อการใช้ประโยชน์ป่าชุมชนอย่างยั่งยืน
๕.๒ ส่งเสริมความรู้ และความเข้าใจให้กับประชาชนเพื่อสร้างความตะหนักในคุณค่า และความสำคัญของป่าชุมชน
๕.๓ ส่งเสริม และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศฯที่ได้มาตรฐานระดับอำเภอ
๕.๔ ส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากร
๕.๕ ป้องกัน และปราบปรามการลักลอบตัดไม้ทำลายป่า และบุกรุกที่ดินของรัฐ
๕.๖ ส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอย และสิ่งแวดล้อม
 
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
การพัฒนาคุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาป่า 20,000 20,000 90,000 อบต.หนองแม่แตง
60,000 60,000 60,000 อบต.ไทรงาม
5,000 - 100,000 อบต.มหาชัย
40,000 40,000 40,000 อบต.หนองคล้า
15,000 20,000 20,000 อบต.หนองทอง
10,000 10,000 10,000 อบต.พานทอง
- - 30,000 อบต.หนองไม้กอง
การบำบัดและจัดการขยะ - - 500,000 อบต.หนองแม่แตง
315,000 315,000 315,000 อบต.ไทรงาม
456,000 - 6,720,000 อบต.มหาชัย
- 65,000 - อบต.หนองคล้า
15,000 - 200,000 อบต.หนองทอง
10,000 10,000 30,000 อบต.พานทอง
200,000 110,000 110,000 อบต.หนองไม้กอง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
การควบคุมด้านมลพิษ - - - - - - อบต.หนองแม่แตง
20,000 20,000 20,000 อบต.ไทรงาม
30,000 30,000 30,000 อบต.มหาชัย
- - - อบต.หนองคล้า
- - - อบต.หนองทอง
- - - อบต.พานทอง
- 50,000 50,000 อบต.หนองไม้กอง
การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 20,000 20,000 170,000 อบต.หนองแม่แตง
50,000 20,000 80,000 อบต.ไทรงาม
25,000 200,000 220,000 อบต.มหาชัย
80,000 90,000 80,000 อบต.หนองคล้า
25,000 20,000 20,000 อบต.หนองทอง
120,000 120,000 120,000 อบต.พานทอง
120,000 80,000 80,000 อบต.หนองไม้กอง
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๖ การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐมีประสิทธิภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
๖. การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ประชาชนมีความพึงพอใจในการรับบริการจากหน่วยงานภาครัฐ
๖.๑ การร้องเรียนด้านคุณธรรมและจริยธรรม
๖.๒ ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐ
ไม่เกินร้อยละ ๑๐
ไม่น้อยร้อยละ ๘๐
 
ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ
๖. การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ๖.๑ การปรับปรุงคุณภาพการให้บริการประชาชน
๖.๒ การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
 
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ
พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัด ต้นสังกัด อปท.
การพัฒนาการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโปร่งใสตรวจสอบได้ 20,000 200,000 220,000 อบต.หนองแม่แตง
2,010,000 2,010,000 2,010,000 อบต.ไทรงาม
- - - อบต.มหาชัย
65,000 65,000 65,000 อบต.หนองคล้า
- - - อบต.หนองทอง
7,595,000 7,570,000 7,570,000 อบต.พานทอง
30,000 30,000 30,000 อบต.หนองไม้กอง
การพัฒนาระบบคุณภาพในการทำงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 10,790,000 10,455,000 17,965,000 อบต.หนองแม่แตง
1,180,000 1,180,000 1,180,000 อบต.ไทรงาม
16,580,240 16,235,380 16,985,380 อบต.มหาชัย
17,807,000 17,587,000 18,577,000 อบต.หนองคล้า
21,158,000 22,650,000 23,700,000 อบต.หนองทอง
6,570,000 600,000 600,000 อบต.พานทอง
9,980,000 7,720,000 8,720,000 อบต.หนองไม้กอง
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==