ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎คณะ/หลักสูตร: ไม่ทำสารบัญลิงก์
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
 
| คำขวัญ = ภูมิความรู้สร้างคุณค่า ภูมิปัญญาสร้างสังคม
| ประเภท = [[มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ|สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ]]
| head_label = นายกสภามหาวิทยาลัย
| head =
| head = [[สุมนต์ สกลไชย|ศ เกียรติคุณ.ดร.สุมนต์ สกลไชย]]
| ตำแหน่งหัวหน้า = อธิการบดี
| อธิการบดี = [[นพพร โฆสิระโยธิน|ผศ.นพพร โฆสิระโยธิน]]
| เพลง =
| ต้นไม้ = ต้นมะหาด
| ดอกไม้ = ดอกตะแบก
| สี = ม่วงขาว
| ที่ตั้ง =
| ที่ตั้ง = เลขที่ 13 หมู่ 14 ตำบลสงเปลือย [[อำเภอนามน]] [[จังหวัดกาฬสินธุ์]]
| เว็บไซต์ = [http://www.ksu.ac.th/ www.ksu.ac.th]
}}
{{บทความหลัก|มหาวิทยาลัย}}
'''มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์''' ({{lang-en|Kalasin University}}) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่ม[[มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ]] ตั้งอยู่ที่ตำบลสงเปลือยจัดตั้งขึ้นตาม [[อำเภอนามน]] [[จังหวัดพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์]] จัดขึ้นเมื่อปี [[พ.ศ. 25402558]] เริ่มเปิดทำการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2542 เป็นครั้งแรก
 
ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ จะได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร]] เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์เป็นประจำทุกปี ณ หอประชุมมหาวชิราลงกรณ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร]]<ref>[http://congratulations.snru.ac.th/components/contents/view.php?id=42 พิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]</ref>
 
== ประวัติ ==
'''มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์''' จัดตั้งขึ้นตาม [[พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2558]] เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2558 <ref>ราชกิจจานุเบกษา พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2558 เล่ม 132 ตอน 86 ก หน้า 45 8 กันยายน 2558</ref> โดยเกิดจากการควบรวมมหาวิทยาลัยใน [[จังหวัดกาฬสินธุ์]] 2 แห่งคือ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์]] และ [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์]] เข้าด้วยกัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ จัดตั้งขึ้นตามคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ [[20 เมษายน]] [[ พ.ศ. 2540]] ซึ่งมีมติให้จัดตั้งสถาบันราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพิ่มขึ้นจำนวน 5 แห่ง ได้แก่ [[สถาบันราชภัฏชัยภูมิ]] [[สถาบันราชภัฏร้อยเอ็ด]] [[สถาบันราชภัฏศรีสะเกษ]] [[สถาบันราชภัฏนครพนม]] และสถาบันราชภัฏกาฬสินธุ์
 
ในระยะแรกได้ดำเนินการในรูปของ "โครงการจัดตั้งสถาบันราชภัฏกาฬสินธุ์" ซึ่งสามารถเปิดรับนักศึกษาระดับอนุปริญญาได้เป็นครั้งแรก ในปีการศึกษา 2542 และ[[ปริญญาตรี]] ในปีการศึกษา 2544
 
ต่อมา เมื่อวันที่ [[21 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2544]] ได้มี[[พระราชกฤษฎีกา]]จัดตั้ง "สถาบันราชภัฏกาฬสินธุ์" พร้อมกับสถาบันราชภัฏอีก 4 แห่งข้างต้น และเมื่อวันที่ [[9 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2547]] [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มีผลให้สถาบันราชภัฏกาฬสินธุ์เปลี่ยนสภาพเป็น "มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์" ดังเช่นปัจจุบัน
 
=== การควบรวมมหาวิทยาลัย ===
ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2554 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ พ.ศ. ... ซึ่งจะเป็นการควบรวมมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ กับ[[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานอี?สาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์]]เข้าด้วยกัน<ref>[http://www.moe.go.th/websm/2011/dec/337.html ครม.เห็นชอบร่าง พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์]</ref><ref>[http://123.242.175.89/office/plane/KSU.pdf โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์]</ref> เป็นมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ โดยการผลักดันของนายเดชา ตันติยวรงค์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ และนาง[[บุญรื่น ศรีธเรศ]] อดีต ส.ส.กาฬสินธุ์ เขต 1 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นาง[[รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท]] อดีต ส.ส.บัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งมีทั้งกลุ่มผู้เห็นด้วยและกลุ่มผู้คัดค้าน โดยให้เหตุผลการคัดค้านว่าจะทำให้สถานที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเดิม ถูกทิ้งร้างไป ส่งผลกระทบต่อธุรกิจหอพักที่เกิดขึ้นโดยรอบมหาวิทยาลัย
 
3 มีนาคม 2558 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ พ.ศ. เพื่อลดความซ้ำซ้อนของสถาบันอุดมศึกษาที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเดียวกัน<ref>[http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9550000113856 หารือตั้งมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ท่ามกลางเสียงคัดค้าน]</ref>