ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หยง แซ่แต้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
อ้างอิงไม่เต็มสักอัน ลบของวรมัยเพราะเป็นนิยาย
บรรทัด 1:
{{ถูกต้องแม่นยำ}}
{{issues|ปรับรูปแบบ=yes|เพิ่มอ้างอิง=yes}}
{{Infobox person
| name = หยง แซ่แต้
เส้น 10 ⟶ 12:
| nationality =
| other_names =
| known_for =
| known_for = พระราชชนกใน<br>[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]
| occupation =
| spouse = [[กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)]]
| children = [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]
| parents =
| parents = เจียนสุน แซ่แต้<br>ช่วนจู แซ่แต้
}}
 
'''หยง แซ่แต้''' ({{lang-zh|鄭鏞}})<ref name="นิธิ63">นิธิ เอียวศรีวงศ์. หน้า 63.</ref> เป็นพระราชชนกใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] และเป็นพระราชสวามีใน[[กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)]] ท่านเป็นบรรพบุรุษของ[[ราชวงศ์ธนบุรี]]
 
หยง แซ่แต้ ([[นิธิ เอียวศรีวงศ์]] ได้อธิบายว่า ''ไหฮอง'' หรือ ''ไหยฮอง'' เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแต้จิ๋ว มิใช่ชื่อของพระราชบิดาสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี) <ref name="นิธิ63">นิธิ เอียวศรีวงศ์. หน้า 63.</ref> ที่มีถิ่นฐานเดิมในตำบลหัวฟู่ อำเภอเทงไฮ้ (เฉิงไห่)<ref name="กรม">สุทธิศักดิ์ ระบอบ สุขสุวานนท์. สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี "ลูกจีนกู้ชาติ" ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย. ใน''ศิลปวัฒนธรรม.'', หน้า 103.</ref> จากหนังสือ ''ใครฆ่าพระเจ้าตาก'' ระบุว่า บิดาของท่านนามว่า เจียนสุน มารดานามว่า ช่วนจู<ref>วรมัย กบิลสิงห์. ''ใครฆ่าพระเจ้าตาก'' ,2540 หน้า 6-7.</ref> สืบสกุลมาจากขุนนางชาวจีน [[นิธิ เอียวศรีวงศ์]] ได้อธิบายว่า พระราชบิดาของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีน่าจะประกอบอาชีพค้าขายเป็นหลัก มิใช่นายอากรบ่อนเบี้ย เป็นคำอธิบายที่ว่าเหตุใดนายสินจึงไม่ทรงประมูลอากรสืบต่ออาชีพจากบิดา จึงน่าจะเป็นพ่อค้าเกวียนมากกว่า<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. หน้า 82-83.</ref> ส่วน ''ตำนานอากรบ่อนเบี้ย'' พระนิพนธ์ของ[[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ทรงให้ข้อมูลว่าตำแหน่งขุนพัฒน์เพิ่งมีขึ้นในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]<ref name="นก">สุทธิศักดิ์ ระบอบ สุขสุวานนท์. สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี "ลูกจีนกู้ชาติ" ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย. ใน''ศิลปวัฒนธรรม.'', หน้า 104.</ref> ต่อมาหยง สมรสกับนกเอี้ยง ([[กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)|กรมพระเทพามาตย์]]) ได้ให้กำเนิดบุตรชายชื่อว่า ''สิน'' เมื่อวันที่ [[23 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2277]]<ref name="นิธิ63"/> และภายหลังได้ยกเป็นบุตรบุญธรรมของ[[เจ้าพระยาจักรี (ครุฑ)]] ซึ่งต่อมานายสินได้เป็นผู้กอบกู้อิสรภาพให้ชาวสยาม และสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี
 
จากหลักฐานที่อาลักษณ์ของจีนจดบันทึกไว้ในพระราชพงศาวดารวงเช็ง แผ่นดิน[[จักรพรรดิเฉียนหลง]] กล่าวถึงพระราชประวัติของพระองค์ไว้ว่า ''"บิดาเจิ้งเป็นชาวมณฑลกวางตุ้ง ไปทำมาค้าขายอยู่ที่เสียมล่อก๊ก [ประเทศไทย] และเกิดเจิ้งเจา [สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี; สำเนียงปักกิ่ง] ที่นั่น เมื่อเจิ้งเจาเติบใหญ่ เป็นผู้มีความสามารถ ได้เข้ารับราชการอยู่ในเสียมล่อก๊ก เมื่อเจิ้งเจารบชนะพม่า ฯ แล้ว ราษฎรทั่วประเทศยกขึ้นเป็นเจ้าครองประเทศ..."'' <ref>ประยุทธ์ สิทธิพันธ์, มหาราชและพระราชกรณียกิจสมเด็จพระภัทรมหาราช (กรุงเทพฯ : เทพพิทักษ์การพิมพ์, 2520) หน้า 223.</ref>
เส้น 28 ⟶ 30:
ชูสิริ จามรมาน กล่าวว่า ''"...การที่ผู้เขียนประวัติเอาชื่ออำเภอเป็นชื่อคนดังกล่าว อาจเป็นความคิดของพระบิดาพระเจ้าตากสินเองก็ได้ เพราะบอกชื่อที่อยู่ไว้ยังพอไปสืบเสาะบรรพบุรุษเอาได้ หากใครคิดจะสืบเสาะ ตัวบอกเพียงชื่อตัวและแซ่อาจจะหากันไม่เจอ เพราะชื่อแซ่ซ้ำกันมากเหลือหลาย พระบิดาของพระเจ้าตากสิน แซ่แต้ ซึ่งจีนปักกิ่งออกเสียงเป็น เจิ้ง คนแซ่แต้มีอยู่นับไม่ถ้วนในแต้จิ๋ว..."''<ref>ชูสิริ จามรมาน. หน้า 67.</ref>
 
[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ทรงอธิบายไว้ในหนังสือคืนถิ่นจีนใหญ่ว่า ''"...คำว่า ไหฮอง เป็นภาษาจีนกลางอ่านว่า "ไห่เฟิง" เป็นตำบลอยู่ทางใต้ของมณฑลกวางตุ้ง ครึ่งทางไปทางเท่งไฮ้ (ชื่ออำเภอๆอำเภอ ๆ หนึ่ง) ไปเสิ่นเจิ้น..."''<ref>[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]]. ''คืนถิ่นจีนใหญ่'' , หน้า 6.</ref> ที่เริ่มกล่าวสมเด็จพระเจ้าตากสินเป็นคนเท่งไฮ้<ref>G. William Skinner. ''Chinese Society in Thailand'' (New York : Cornell University Press, 1975)</ref> นั้นมาจากหนังสือของ G. William Skinner เรื่อง Chinese Society in Thailand (New York : Cornell University Press, 1975) ซึ่งตรงกับพระราชพงศาวดารจีนราชวงศ์เช็ง แผ่นดิน[[จักรพรรดิเฉียนหลง]]
 
แต่ พ.ต.ต. พิศาล เสนะเวส ได้ให้คำอธิบายชื่อ ไหฮอง ดังนี้ ''"...เป็นนามของ พระบิดาของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เป็นจีน ไหหลำ แน่นอน เห็นได้จากคำว่า "ไห" ซึ่งเป็นแซ่หนึ่งของจีนไหหลำ จากการสอบถามชาวจีนเขาบอกว่า แซ่ห่าน แซ่ฮู้ แซ่ไห จีนพวกอื่นเช่น แต้จิ๋ว กวางตุ้ง ฮกเกี๋ยน อะไรๆ ก็ไม่มีทั้งนั้น มีแต่จีนไหหลำพวกเดียว อนึ่งคำว่า "ไหหลำ" เข้าใจว่าเป็นคำเพี้ยน ที่ถูกจะต้องเป็น "ไหหนำ" ซึ่งแยกศัพท์แล้ว "ไห" แปลว่า "ทะเล" "หนำ" แปลว่า "ใต้" รวมแล้วแปลว่า "ทะเลใต้" ถ้าคิดถึงสถานที่อาจมุ่งความว่า "เกาะทะเลใต้"..."''<ref>พิศาล เสนะเวส. หน้า 328.</ref>