ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝนดาวตก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แทนที่เนื้อหาด้วย "ไปหาพ่อคุณไป ไปดูเพจสลอตไป"
บรรทัด 1:
ไปหาพ่อคุณไป ไปดูเพจสลอตไป
[[ไฟล์:ฝนดาวตก.jpg|thumbnail|ปรากฏการณ์ฝนดาวตก]]
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ฝนดาวตก''' คือ[[ดาวตก]]หลายดวงที่เหมือนพุ่งออกมาจากบริเวณเดียวกันในท้องฟ้าในช่วงเวลาเดียวกันของปี ซึ่งเกิดจากเศษชิ้นส่วนในอวกาศที่พุ่งเข้ามาในบรรยากาศโลกด้วยอัตราเร็วสูง แต่ละคราวที่[[ดาวหาง]]เข้ามาใกล้[[ดวงอาทิตย์]] จะมีเศษชิ้นส่วนขนาดเล็กของดาวหางถูกสลัดทิ้งไว้ตาม[[วงโคจร|ทางโคจร]] เรียกว่า "ธารสะเก็ดดาว" หากวงโคจรของโลกและของดาวหางซ้อนทับกัน โลกจะเคลื่อนที่ผ่านธารสะเก็ดดาวในช่วงวันเดียวกันของแต่ละปี ทำให้เกิดฝนดาวตก
 
การที่สะเก็ดดาวในธารเดียวกัน เคลื่อนที่ขนานกันและมีอัตราเร็วเท่ากัน ดาวตกที่เราเห็นจึงดูเหมือนพุ่งออกมาจากจุดเดียวกันในท้องฟ้า ซึ่งเป็นผลจาก[[ทัศนมิติ]] (perspective) เปรียบเหมือนกับที่เราเห็นรางรถไฟไปบรรจบกันที่ขอบฟ้า เมื่อยืนดูจากกลางราง
 
==ฝนดาวตก ทำให้คนตายเป็นจำนวนน้อยมากๆ
'''ฝนดาวตก ( Meteor shower )'''เกิดจากการที่โลกโคจรผ่านทะลุฝุ่นที่มาจากหางของดาวหาง แตกต่างจากดาวตกทั่วไป คือ เป็นดาวตกที่มีปริมาณการตกมากกว่า และถี่กว่าดาวตกปกติ ปริมาณของฝนดาวตกนั้นขึ้นอยู่กับว่ามีเศษฝุ่น เศษหินจากสะเก็ดดาวหางมากน้อยเพียงใด ซึ่งบางครั้งฝนดาวตกอาจตกมากถึง 10,000 ดวงต่อชั่วโมง โดยมีทิศทางเหมือนมาจากจุดๆหนึ่งบนท้องฟ้า เรียกว่า จุดกำเนิด (radiant) เมื่อจุดกำเนิดนั้นตรงหรือใกล้เคียงกับกลุ่มดาวอะไร ก็จะเรียกชื่อฝนดาวตกตามกลุ่มดาวนั้นๆ หรือ ดาวที่อยู่ใกล้กลุ่มดาวนั้น เช่น ฝนดาวตกเพอร์เซอัส(กลุ่มดาวเพอร์เซอัส) หรือ
ฝนดาวตกอีต้าอะควอลิด (ดาวอีต้า คนแบกหม้อน้ำ) เป็นต้น ซึ่งเราสามารถกำหนดช่วงเวลาการตกได้ว่าตรงกับวันไหนวันที่เท่าไหร่ และเวลาใด ซึ่งฝนดาวตกบางชนิดจะมีปริมาณการตกน้อย คล้ายกับดาวตกทั่วไป แต่ก็มีบางชนิดที่มีปริมาณการตกมาก และทิศทางที่แน่นอน มีลักษณะคล้ายกับฝนตก
ในการดูฝนดาวตกนั้นช่วงเวลาที่ดีที่สุดคือหลังเที่ยงคืน เพราะเป็นเวลาที่ชีกโลกที่เราอยู่จะรับดาวตกที่พุ่งเข้ามาแบบตรงๆ ซึ่งช่วงเวลาที่ดาวตกเกิดก่อนเที่ยงคืนหรือช่วงหัวค่ำนั้นจะเป็นช่วงที่ดาวตกวิ่งสวนทางการหมุนรอบตัวเองของโลก เราจะเห็นดาวตกมีความเร็วสูง แต่ถ้าฝนดาวตกที่เกิดหลังเที่ยงคืนไปแล้วหรือในเวลาใกล้รุ่ง จะเป็นช่วงที่ดาวตกวิ่งตามทิศทางการหมุนของโลก เราจึงเห็นดาวตกที่อยู่ในช่วงเวลาใกล้รุ่งนั้นวิ่งช้า
 
==='''เรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกับฝนดาวตก ที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกได้เแก่'''===
*'''ดาวตก ( meteor )''' คือเศษฝุ่น เศษหิน หรือโลหะชิ้นเล็กๆ จนถึงก้อนขนาดใหญ่ ถ้าอยู่ในอวกาศจะเรียกว่า สะเก็ดดาว ( meteoroid ) ซึ่งไม่มีแสงสว่างในตัวเอง เมื่อเคลื่อนที่หรือล่องลอยเข้ามา ใกล้วงโคจรของโลก จะถูกแรงดึงดูดของโลกดูดเข้ามาในชั้นบรรยากาศ และตกลงสู่พื้นโลกด้วยความเร็วตั้งแต่ 11 – 64 กิโลเมตรต่อวินาที เกิดการเสียดสีจนร้อนและลุกไหม้ เกิดเป็นแสงพาดผ่านบนท้องฟ้า ที่ระดับความสูงประมาณ 100 – 130 กิโลเมตรจากพื้นโลก หรือเรียกอีกอย่างว่า '''ผีพุ่งใต้ (shooting star)''' ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกเผาไหม้จนหมดสิ้นขณะเคลื่อนที่ผ่านไปในชั้นบรรยากาศ แต่ถ้าหากเศษฝุ่นเหล่านั้นมีขนาดใหญ่มาก และเผาไหม้ไม่หมดในชั้นบรรยากาศ ก็จะตกลงมาถึงพื้นโลก เรียกว่า '''อุกกาบาต ( meteorite )'''
 
*'''สะเก็ดดาวหาง หรือ อุกกาบาต''' คือก้อนหินในอวกาศ ส่วนมากมีขนาดเล็ก หรือบางดวงก็เป็นก้อนขนาดใหญ่ ซึ่งส่วนมากจะถูกเผาไหม้จากการเสียดสีกับชั้นบรรยากาศในขณะที่กำลังพุ่งตกลงมาสู่โลก แต่บางชิ้นที่มีขนาดใหญ่มากถูกเผาไหม้ไม่หมด จึงตกลงบนผิวโลก ทำให้เกิดหลุมขนาดต่างๆ บนพื้นผิวโลก ชนิดของอุกกาบาต เช่น อุกกาบาตเหล็ก อุกกาบาตหิน-เหล็ก หรืออุกกาบาตหินคอนไดรต์ ซึ่งอาจมาจากดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ที่เนื้อดาวแตกแยกเป็นชิ้นๆ
 
*'''ดาวหาง ( Comet )''' คือก้อนน้ำแข็งและฝุ่นขนาดใหญ่ ที่พุ่งมาจากขอบนอกของระบบสุริยะจักรวาล เมื่อเคลื่อนเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ในระยะวงโคจรของดาวพฤหัสบดี ผิวนอกจะเริ่มละลายและเกิดแนวแสงสว่างเป็นทางยาวคล้ายหาง ที่ประกอบด้วยแก๊สและฝุ่น เมื่อเคลื่อนเข้ามาใกล้โลกหางของดาวหางจะสว่างและยาวขึ้น ทำให้สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[รายชื่อฝนดาวตก]]
* [[ดาวเคราะห์น้อย]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.imo.net/ The International Meteor Organisation]
* [http://www.amsmeteors.org/index.html The American Meteor Society]
* [http://meteorshowersonline.com/ Meteor Showers Online], by ''Gary W. Kronk''
* [http://skyandtelescope.com/observing/objects/meteors/article_91_2.asp Meteor Showers], by ''Sky and Telescope''
* [http://skyandtelescope.com/observing/objects/meteors/article_588_1.asp Upcoming Meteor Showers], by ''Sky and Telescope''
* [http://skyandtelescope.com/observing/objects/meteors/article_98_1.asp Basics of Meteor Observing], by ''Sky and Telescope''
 
==อ้างอิง==
<references />http://www.darasart.com/solarsystem/meteor/meteorshower.htm
 
<references />http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/supinya/light_heaven/l_heaven.htm
 
<references />http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=31&chap=8&page=t31-8-infodetail04.html
 
<references />http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=94602
 
<references />http://news.sanook.com/958771/%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%9D%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%95%E0%B8%81-%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%AA-%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81/
*ชังซูฮานึลโซ. 101 เธอรู้ไหม: เจาะลึกคำถามเรื่องอวกาศ. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส์พับลิเคชั่น, 2554.
*เผยความลับอาณาจักรดาวเคราะห์/ ทอม โจนส์ และ เอลเลน สโตแฟน: เขียน; อศิระ วนัส: แปล จาก Planetology: Unlocking the secrets of the solar system. กรุงเทพฯ: เนชั่นแนลจิโอกราฟิก, 2552.
*เคอร์รอด, โรบิน.วีถีความเป็นไปแห่งเอกภพ = The way the universe works.-- กรุงเทพฯ: ปาเจรา, 2553.
*ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ. สารานุกรมอวกาศ. กรุงเทพฯ: ฟาร์อีสต์พับลิเกชั่น จำกัด; 2547.
*ทวีศักดิ์ บุญบุชาไชย. ดวงดาวและโลกของเรา ม.4-6. กรุงเทพฯ: พ.ศ. พัฒนา จำกัด, 2556.
 
[[หมวดหมู่:ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ฝนดาวตก| ]]
{{โครงดาราศาสตร์}}