ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วาทกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Danieliness (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Fxxknoevil (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
 
วาทกรรมแต่ละชุดในเรื่องเดียวกันจึงมีปฏิสัมพันธ์กันในเชิงขัดแย้ง อยู่เสมอ แต่ละวาทกรรมต่างก็มีฐานทางความคิดที่สร้างขึ้นมาเพื่อสร้างความถูกต้อง ให้กับวาทกรรมของกลุ่มตน
 
==การเข้ามาของมโนทัศน์==
 
คำว่า วาทกรรม เข้ามาในวงการสังคมศาสตร์ไทยเป็นครั้งแรกในเชิงอรรถของบทความเกี่ยวกับ [[ฌอง โบดริยาร์ด]] ของ[[สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์]] และ จีรติ Tingsabhat ในวารสาร[[จดหมายข่าวสังคมศาสตร์]] Vol.10 No.4 พ.ค.- ก.ค. ค.ศ. 1988 (พ.ศ.2531) อย่างไรก็ดีผู้ที่เป็นคนใช้คำว่า วาทกรรม ในฐานะคำแปลของคำว่า discourse นั้นก็คือ [[สมเกียรติ์ วันทะนะ]] บรรณาธิการการของจดหมายข่าวสังคมศาสตร์ ซึ่งข้อมูลตรงนี้มีระบุไว้ที่เชิงอรรถของบทความดังกล่าว
 
อย่างไรก็ดีคำว่าวาทกรรมนั้นก็ได้ปรากฏตัวอย่างเต็มรูปแบบในบทความ "ฟุ้งวาทกรรมว่าด้วยอูฐวิทยา" ในจดหมายข่าวสังคมศาสตร์ Vol.11 No.1 1998 <ref>Thanes Wongyannava, "Postmodernization as the Anglo-Americanization of Contemporary French Thought
and the Re-Modernization of Postmodern Thai Studies:
A Historical Trajectory of Thai Intellectuals
", Paper presented at International Conference on Postmodern and Thai Stuides, December 13-14, 2003, Surasammanakan Convention Center, Suranaree University of Technology, Nakhon Ratchasima, Thailand</ref>ซึ่งหลังจากนั้นคำว่าวาทกรรมก็ได้มีการใช้ในวงวิชาการอย่างกว้างขวางขึ้นเรื่อยๆ และขยายมานอกวงวิชาการในเวลาต่อมา
 
<references/>
 
{{โครง}}