ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supotmails (คุย | ส่วนร่วม)
แก้คำผิด
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Suphanut2001 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
}}
'''จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่''' ({{lang-en|GMM Grammy}}) (ชื่อเดิม แกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ({{lang-en|Grammy Entertainment}})) เป็น[[บริษัท]]แม่ของกิจการ[[บันเทิง]] ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มธุรกิจ[[ดนตรี]], [[สื่อ]], [[ภาพยนตร์]], [[ดิจิตอล]], [[สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม]], [[สถานีวิทยุ]], [[สื่อสิ่งพิมพ์]], และ [[อีเวนต์เมเนจเม้นท์]] แบบครบวงจร ขนาดใหญ่ที่สุดใน[[ประเทศไทย]]<ref>http://www.gmmgrammy.com/th/vtr-grammy.htm</ref> ก่อตั้งโดย [[ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม]] และ[[เรวัต พุทธินันทน์]] เมื่อวันที่ [[11 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2526]] และเป็นค่ายเพลงที่ดีที่สุดอันดับ 1 ของประเทศไทย<ref>[http://cabal.exteen.com/20071019/gmm-grammy-1 กว่าจะเป็น GMM Grammy...อันดับ1ของประเทศไทย]</ref> และอันดับ 3 ของเอเชีย จากการจัดอันดับของนิตยสารชื่อดังของอังกฤษ<ref>[http://www.dek-d.com/board/view/1479648/ ผลการจัดอันดับค่ายเพลงที่ดีที่สุดในเอเชีย]</ref> นอกจากนี้ยังเป็นบริษัทที่มีคนอยากเข้าทำงานมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ของประเทศไทยอีกด้วย<ref>[http://www.dek-d.com/board/view/3174224/ 10 บริษัทในประเทศไทยที่คนอยากทำงานด้วยมากที่สุด]</ref>
 
'''จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่''' ทำธุรกิจทางด้านดนตรี สื่อ ภาพยนตร์ ดิจิตอล สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม สถานีวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ เป็นต้น โดยระยะแรกดำเนินธุรกิจหลักสร้างสรรค์ผลงาน เพลงไทยสากล โดยออกอัลบั้มชุดแรก ''"นิยายรักจากก้อนเมฆ"'' โดย [[พันทิวา สินรัชตานันท์|แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์]] และผลิตรายการทีวี 3 รายการ ได้แก่ ยิ้มใส่ไข่, มันกว่าแห้ว และ เสียงติดดาว จากนั้นจึงเริ่มขยายกิจการ ไปสู่ธุรกิจผลิต[[รายการโทรทัศน์]]และรายการวิทยุ บริษัทได้ขยายการดำเนินธุรกิจเข้าสู่ธุรกิจบันเทิงอื่นๆ เช่น วิทยุ, ภาพยนตร์, การจัดคอนเสิร์ต, การศึกษา, สื่อสิ่งพิมพ์ รวมทั้งธุรกิจร้านค้าปลีกเพื่อจัดจำหน่ายสินค้าต่างๆ ของบริษัทในเครือ เช่นเทปและซีดีเพลงการขยายธุรกิจดังกล่าวส่งให้บริษัทดำเนินธุรกิจอย่างครบวงจร และเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมบันเทิงไทยในปี [[พ.ศ. 2544]]