ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็นเอ็มอี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
| frequency = รายเดือน
<!--| circulation = -->
| paid_circulation = 15,000 (2015) - 250,000 (peak)<ref name= "econ2015"/>{{cite web| url=http://www.economist.com/blogs/prospero/2015/07/music-magazines | title= An old ''NME'' is vanquished| date=
July 7, 2015| publisher= The Economist| accessdate=8 July 2015}}</ref>
| unpaid_circulation=
| circulation = 15,830 (ABC Jan - Jun 2014)<ref name=Circ>{{cite web|title=ABC Certificates and Reports: New Musical Express|url=http://www.abc.org.uk/Products-Services/Product-Page/?tid=263|publisher=[[Audit Bureau of Circulations (UK)|Audit Bureau of Circulations]]|accessdate=16 January 2015}}</ref><br /><small>Print and digital editions.</small>
เส้น 36 ⟶ 37:
}}
 
'''นิวมิวสิกเอกซ์เพรส''' ({{Lang-en|The New Musical Express}} หรือย่อเป็น '''NMEเอ็นเอ็มอี''' ({{lang-en|NME}})) เป็น[[นิตยสาร]]ดนตรีใน[[สหราชอาณาจักร]] ออกเป็นรายสัปดาห์ตั้งแต่เดือนมีนาคม 1952 นิตยสารมีเนื้อหาส่วนใหญ่เกี่ยวกับดนตรีแนวร็อก อัลเทอร์นาทีฟ และอินดี และเป็นนิตยสารฉบับแรกของสหราชอาณาจักรที่รวมมีชาร์ตซิงเกิลไว้ในฉบับวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1952 ยุครุ่งเรืองของนิตยสารคือในยุค 1970 โดยเป็นนิตยสารดนตรีของอังกฤษที่ขายดีที่สุดในช่วงนั้น ตั้งแต่ปี 1972-1976 ได้ร่วมใช้การเขียนแบบกอนโซ (Gonzo journalism) ต่อมาเริ่มเขียนงานเกี่ยวกับงาน[[พังก์ร็อก]] โดยมีนักเขียนอย่างจูลี เบอร์ชิลล์ พอล มอร์ลีย์ โทนี พาร์สันส์ นิตยสารเริ่มจำหน่ายในรูปแบบหนังสือพิมพ์ข่าวดนตรี และค่อย ๆ เปลี่ยนรูปแบบเป็นนิตยสารในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980-1990 และเลิกใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ใน ค.ศ. 1998
 
== อ้างอิง ==