ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แก๊สชีวภาพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Alphama (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6084355 สร้างโดย 110.77.250.187 (พูดคุย)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{AlphamaBot
{{ต้นฉบับ}}
'''ก๊าซชีวภาพ''' ({{lang-en|'''Biogas''' หรือ '''digester gas'''}}) หรือ ไบโอก๊าซ คือ ก๊าซที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากการหมักย่อยสลายของ[[สารอินทรีย์]]ภายใต้สภาวะที่ปราศจากออกซิเจน(anaerobic digestion) โดยทั่วไปจะหมายถึง ก๊าซ [[มีเทน]] ที่เกิดจาก [[การหมัก]] (fermentation) ของ [[สารอินทรีย์]] โดยกระบวนการนี้สามารถเกิดขึ้นได้ในหลุมขยะ กองมูลสัตว์ และก้นบ่อแหล่งน้ำนิ่ง กล่าวคือเมื่อไหร่ก็ตามที่มีสารอินทรีย์หมักหมมกันเป็นเวลานานก็อาจเกิดก๊าซชีวภาพ แต่นี่เป็นเพียงแค่หลักการทางทฤษฏี
 
 
องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแก๊สมีเทน(CH<sub>4</sub>) ประมาณ 50-70% และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO<sub>2</sub>)ประมาณ 30-40% ส่วนที่เหลือเป็นแก๊สชนิดอื่น ๆ เช่น ไฮโดเจน(H<sub>2</sub>) ออกซิเจน(O<sub>2</sub>) ไฮโดรเจนซัลไฟด์(H<sub>2</sub>S) ไนโตรเจน(N<sub></sub>) และไอน้ำ
 
ก๊าซชีวภาพมีชื่ออื่นอีกคือ '''ก๊าซหนองน้ำ''' และ '''มาร์ชก๊าซ''' (marsh gas) ขึ้นกับแหล่งที่มันเกิด กระบวนการนี้เป็นที่นิยมในการเปลี่ยน [[ของเสีย]] ประเภทอินทรีย์ทั้งหลายไปเป็น[[กระแสไฟฟ้า]] นอกจากกำจัดขยะได้แล้วยังทำลาย [[เชื้อโรค]] ได้ด้วย การใช้ก๊าซชีวภาพเป็น [[การบริหารจัดการของเสีย]] ที่ควรได้รับการสนับสนุนเพราะไม่เป็นการเพิ่มก๊าซ [[คาร์บอนไดออกไซด์]] ในชั้นบรรยากาศที่เป็นต้นเหตุของ [[ปรากฏการณ์เรือนกระจก]](greenhouse effect) ส่วนการเผาไหม้ '''ก๊าซชีวภาพ''' ซึ่งมีก๊าซมีเทนเป็นส่วนประกอบหลักจะสะอาดกว่า
 
 
== ความเป็นมาของการผลิตก๊าซชีวภาพ ==