ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสัญญาเจนีวา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 16:
 
== การลงนามเข้าร่วมของไทย ==
ประเทศไทยก็เป็นภาคีในสนธิสัญญาเจนีวาด้วย และ ได้ออกกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามอนุสัญญาเจนีวาด้วย นั่นคือ พระราชบัญญัติ บังคับการให้เป็นไปตามอนุสัญญาเจนีวาเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อเชลยศึก พ.ศ. 2498 โดยมีเนื้อหาอันเป็นการช่วยคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่เชลยศึก อันจะเห็นได้ในบทบัญญัติ ในส่วนความผิดที่กระทำต่อ เชลยศึก
 
* '''มาตรา ๑๒''' ผู้ใดกระทำการทดลองชนิดใดๆ แก่เชลยศึกในทางแพทย์ทางชีววิทยา หรือทางวิทยาศาสตร์ อันไม่เป็นการสมควรแก่เหตุในการรักษาพยาบาลเชลยศึกนั้น มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามพันห้าร้อยบาท และจำคุกไม่เกินเจ็ดปี
บรรทัด 25:
* '''มาตรา ๑๗''' ผู้ใดกระทำการฝ่าฝืนบทบัญญัติในมาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัตินี้ มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามพันห้าร้อยบาท หรือจำคุกไม่เกินเจ็ดปี หรือทั้งปรับทั้งจำ
 
ถึงแม้จะมีข้อตกลงระดับนานาชาติ ที่ถือว่าประเทศหลายประเทศในโลกยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ควรทำ เป็นสิ่งหนึ่งที่ต้องทำเพื่อปกป้องสิ่งที่มีค่ายิ่งของมนุษย์คือ สิทธิมนุษยชน อย่างสนธิสัญญาเจนีวาว่าด้วยการปฏิบัติต่อเชลยศึกก็ตาม ในความเป็นจริงอำนาจทางทหารมาก่อนสิ่งนี้เสมอ ประเทศมหาอำนาจบางประเทศก็ยังละเมิดกฏหมายกฎหมายที่คุ้มครองสิทธิมนุษยชนอย่างหน้าตาเฉย
 
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 39:
 
{{เรียงลำดับ|จเจนีวา}}
{{โครงกฎหมาย}}
 
[[หมวดหมู่:อนุสัญญา]]
เส้น 45 ⟶ 44:
[[หมวดหมู่:กฎหมายระหว่างประเทศ]]
[[หมวดหมู่:สนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน]]
{{โครงกฎหมาย}}