ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกียวกูองโฮโซ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 15:
เนื้อหาหลักของกระแสพระราชดำรัสคือการประกาศการยอมจำนนของญี่ปุ่นโดยจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ อย่างไรก็ตาม คำศัพท์ที่ปรากฏในพระราชดำรัสดังกล่าวเป็นศัพท์สูง ฟังเข้าได้ยากยิ่ง คนญี่ปุ่นจำนวนไม่น้อยในสมัยนั้นก็ยังไม่แน่ใจในความหมายที่แท้จริงในทันที และจากเนื้อความทั้งหมดที่สมเด็จพระจักรพรรดิทรงประกาศ แม้ว่าเนื้อหาหลักคือการยอมจำนนของญี่ปุ่น แต่ก็ไม่มีส่วนใดเลยที่ระบุคำว่า “ยอมแพ้” <ref>โฆษิต ทิพย์เทียมพงษ์. (2550). '''นางาซากิ: ยลเสน่ห์ล้ำ ย้ำอดีตลึก'''. แพรวสำนักพิมพ์. หน้า 120.</ref>
 
เนื้อความที่สื่อว่าญี่ปุ่นยอมแพ้ตามพระราชดำรัสของสมเด็จพระจักรพรรดิคือ "เราได้มีบัญชาให้รัฐบาลของเราติดต่อไปยังรัฐบาลของ อเมริกา อังกฤษสหราชอาณาจักร จีน สหภาพโซเวียต สี่ประเทศ ว่าจักรวรรดิของเรายอมรับปฏิญญาที่พวกเขาได้ร่วมกันประกาศไว้" ({{ญี่ปุ่น|朕ハ帝國政府ヲシテ米英支蘇四國ニ對シ其ノ共同宣言ヲ受諾スル旨通告セシメタリ|Chin wa teikoku-seifu wo shite Bei Ei Shi So shikoku ni taishi sono kyōdō-sengen wo judaku suru mune tsūkoku seshimetari}})
 
ปฏิญญาที่พระองค์มีรับสั่งถึง คือ คำประกาศพอตสดัม (Potsdam Declaration) ซึ่งสี่ชาติใหญ่ร่วมกันเรียกร้องให้ญี่ปุ่นยอมแพ้โดยไม่มีเงื่อนไข ตอนนั้น ประชาชนคนไหนไม่รู้จักคำประกาศนี้ ก็อาจไม่เข้าใจชัดเจนในทันทีว่านั่นหมายถึงการยอมแพ้ของญี่ปุ่น <ref>โฆษิต ทิพย์เทียมพงษ์. (2550). '''นางาซากิ: ยลเสน่ห์ล้ำ ย้ำอดีตลึก'''. แพรวสำนักพิมพ์. หน้า 120 - 121.</ref>
 
และท้ายที่สุด พระองค์ตรัสถ้อยคำที่มีชื่อเสียงว่า: "แต่ถึงอย่างไรก็ตาม มันเป็นไปตามลิขิตของเวลาและโชคชะตาที่ว่าเราได้ตั้งใจที่จะปูทางสำหรับสันติภาพเพื่อลูกหลานสืบต่อต้องดำเนินไปโดยการตามกระแสแห่งกาลเวลา อดทนในสิ่งที่ไม่อาจทนทานได้เหลือจักทานทน และยอมรับความทรมานข่มกลั้นในสิ่งที่ไม่อาจรับความทรมานได้ยากจักข่มกลั้น เพื่อถากถางปูทางสู่มหาสันติภาพอันจักยั่งยืนสืบไปนับพันปี"
 
=== เนื้อความในพระราชดำรัสโดยละเอียด ===
บรรทัด 43:
We have ordered Our Government to communicate to the Governments of the United States, Great Britain, China and the Soviet Union that Our Empire accepts the provisions of their Joint Declaration.
||
เราได้มีบัญชาให้รัฐบาลของเราติดต่อไปยังรัฐบาลของ อเมริกา อังกฤษสหราชอาณาจักร จีน สหภาพโซเวียต สี่ประเทศ ว่าจักรวรรดิของเรายอมรับปฏิญญาที่พวกเขาได้ร่วมกันประกาศไว้
|-
|
บรรทัด 52:
To strive for the common prosperity and happiness of all nations as well as the security and well-being of Our subjects is the solemn obligation which has been handed down by Our Imperial Ancestors and which lies close to Our heart.
||
เพื่อเดินหน้าไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองและความสุขร่วมกันของชาติทั้งหลาย รวมทั้งความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาราษฎรของเรา ซึ่งเป็นพันธะที่แน่วแน่สิ่งที่สมเด็จพระบูรพมหาจักรพรรดิราชเจ้าได้ทรงสืบทอดรักษา เป็นพันธกรณีอันมั่นคงสืบต่อกันมาจนถึงตัวเรา
|-
|