ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ่าวอิเซะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "อิเสะ" → "อิเซะ" +แทนที่ "คิโสะ" → "คิโซะ" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{infobox_bay
| bay_name = อ่าวอิเสะ <br> Ise Bayอิเซะ <br> 伊勢湾
| image_bay = Ise Shima Skyline DSC5445.jpg
| image_size = 300px
| caption_bay = อ่าวอิเสะมองจากIse City Skyline
| caption_bay = อ่าวอิเซะมองจากเมืองอิเซะ
| image_bathymetry =
| caption_bathymetry =
| coords = {{coord|34|45|N|136|45|E|region:JP_type:waterbody|display=inline,title}}
| rivers = [[แม่น้ำคิโสะคิโซะ]]
| oceans = [[มหาสมุทรแปซิฟิก]]
| countries = [[ญี่ปุ่น]]
| length =
| width =
| area = 1738 kmกม²
| depth = 19.5 mม.
| max-depth = 30 mม.
| volume = 33.9 kmกม³
| residence_time =
| shore =
| islands = Centrair airport (artificial)
| cities = [[นะโงะยะ]]<br>[[ยคไคจิ, มิเอะ|ยคไคจิยกไกชิ]]<br>[[ทซึ,สึ มิเอะ(เมือง)|ทซึสึ]]<br>[[มัทซึซะกะ,มะสึซะกะ มิเอะ(เมือง)|มัทซึซะกะมะสึซะกะ]]<br>[[อิเสะอิเซะ]]
| frozen =
}}
 
'''อ่าวอิเสะอิเซะ''' (伊勢湾 ''Ise-wan'') เป็นอ่าวที่อยู่ที่ปาก[[แม่น้ำคิโสะคิโซะ]] ระหว่าง[[จังหวัดมิเอะ]]กับ[[จังหวัดไอจิ]]ใน[[ญี่ปุ่น]] มีความลึกเฉลี่ย 19.5 เมตร จุดที่ลึกที่สุดลึก 30 เมตรที่กลางอ่าว ปากอ่าวกว้าง 9 กิโลเมตร และเชื่อมต่อกับ[[อ่าวมิคะวะ]]ที่เล็กกว่าทางช่องแคบสองช่อง คือ ช่องแคบนะคะยะมะ และช่องแคบโมะโระซะกิ อ่าวมิคะวะเชื่อมต่อกับ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]]ทางช่องแคบอิระโกะซึ่งลึกตั้งแต่ 50-100 เมตร
 
==ประวัติศาสตร์และสภาพแวดล้อม==
 
อ่าวอิเสะอิเซะได้ชื่อมาจากภูมิภาครอบๆ[[ศาลเจ้าใหญ่อิเสะอิเซะ]]และเมือง[[อิเสะอิเซะ]]ที่ศาลเจ้าตั้งอยู่ มีที่ราบชายฝั่งยาวตั้งแต่เมือง[[คุวะนะ]]ทางตอนเหนือของจังหวัดมิเอะจนถึงเมืองอิเสะอิเซะ เรียกว่า ที่ราบอิเสะอิเซะ อยู่ที่ชายทะเลด้านตะวันตกของอ่าว ใน[[ยุคเมจิ]] พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดมิเอะในปัจจุบันเป็นพื้นที่ของ[[จังหวัดอิเสะอิเซะ]]
 
ภูมิภาครอบอ่าวอิเสะอิเซะมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์และมีภูมิประเทศที่สะดวกต่อการคมนาคมขนส่งมาตั้งแต่สมัยโบราณ จึงมีชุมชนมากมายเกิดขึ้นรอบอ่าว รวมทั้งยังมีแหล่งประมง (ตัวอย่างสัตว์น้ำที่จับได้ เช่น ''[[Panulirus]]'')ไข่มุก นาข้าว และอุตสาหกรรมต่างๆ [[ท่าเรือนะโงะยะ]]ที่ชายทะเลด้านเหนือของอ่าวเป็นท่าเรือขนส่งสินค้าที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น ในอ่าวมี[[ท่าอากาศยานนานาชาติ Chubu Centrair]] ตั้งอยู่บนเกาะที่สร้างขึ้น เปิดใช้บริการเมื่อ [[พ.ศ. 2548]]
 
เมื่อสิ้นสุด[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ภูมิภาคอ่าวอิเสะอิเซะมีบทบาทสำคัญในการฟื้นฟูเศรษฐกิจของญี่ปุ่นอย่างรวดเร็วโดยการขยายของอุตสาหกรรมใหญ่ ซึ่งก่อมลพิษต่อคุณภาพของน้ำและดิน รวมทั้งการลดลงของที่ดินชายทะเล Seaweed beds และถิ่นอาศัยของพืชและสัตว์ในท้องถิ่น มีเขื่อนกั้นน้ำทะเลมากมายถูกสร้างขึ้นเพื่อป้องกันแหล่งชุมชน โดยเฉพาะหลังจากไต้ฝุ่นอ่าวอิเสะอิเซะพัดถล่มเมื่อ พ.ศ. 2502 ซึ่งเขื่อนเหล่านี้ทำให้หลายพื้นที่ถูกตัดขาดจากทะเลมากขึ้น
 
อ่าวอิเสะอิเซะมีรอยเลื่อนแผ่นดินไหวที่มีพลังอยู่สามรอย คือ รอยเลื่อนอ่าวอิเสะอิเซะ Suzuka-oki fault และ Shiroko-noma fault<ref>[http://sciencelinks.jp/j-east/article/200014/000020001400A0514004.php Science Links Japan: Active Faults Surveys in the Ise Bay]</ref>
 
==ไต้ฝุ่นอ่าวอิเสะอิเซะ==
 
เมื่อวันที่ [[26 กันยายน]] [[พ.ศ. 2502]] ไต้ฝุ่นอ่าวอิเสะอิเซะ ([[ไต้ฝุ่น Vera]]) ได้เข้าทำลายล้างบริเวณอ่าวอิเสะอิเซะ ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นและแรงคลื่นทำให้ริมฝั่งทะเลพังทลายและน้ำเข้าท่วมพื้นที่ต่ำตามชายฝั่ง มีผู้เสียชีวิตและสูญหาย 5,041 คน บาดเจ็บ 38,921 คน บ้านเรือน 149,187 หลังเสียหาย ประเมินว่ามูลค่าความเสียหายอยู่ที่ 5-6 แสนล้านเยน ความสูญเสียต่อชีวิตจากไต้ฝุ่นอ่าวอิเสะอิเซะจัดเป็นครั้งที่รุนแรงที่สุดในบรรดาไต้ฝุ่นในญี่ปุ่น
 
==อ้างอิง==