ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จตุสดมภ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เวียง ดูแลความสงบของบ้านเมือง
ป้ายระบุ: อิโมจิ
บรรทัด 1:
'''จตุสดมภ์''' (เกิดจากคำบาลี "จตุ" หมายถึง สี่ และสันสกฤต สฺตมฺภ หมายถึง หลัก รวมหมายถึง "หลักสี่"<ref>[http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542] คำค้น "จตุสดมภ์"</ref>) เป็นคำที่[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ใช้เรียกระบบการปกครองส่วนกลางภายในกรุงศรีอยุธยาสมัยอยุธยาตอนต้น<ref>โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. '''การเมืองการปกครองไทย: หลายมิติ'''. หน้า 5.</ref> โดยมีระบุว่าเป็นแนวคิดที่รับเอามาจากขอม<ref>[http://www.sukhothai.go.th/history/hist_04.htm การปกครองตั้งแต่อดีต-ปัจจุบัน]. สืบค้น 2-5-2554.</ref> ในขณะที่การปกครองหลังมีการปฏิรูปขึ้นในรัชสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]]อันเป็นรูปแบบการปกครองที่ใช้มาจนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]นั้น มีลักษณะเป็นแบบ "นายกรัฐมนตรี 2 คน" มากกว่า<ref>โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. '''การเมืองการปกครองไทย: หลายมิติ'''. หน้า 8.</ref>
 
<ref>ขอให้มันขึ้นที่เราทำหน่อย</ref>
== สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ==
==
จตุสดมภ์แบ่งออกเป็น 4 กรม มีหัวหน้าเรียกว่า ขุน ฐานะเทียบเท่าเสนาบดี แบ่งออกเป็น
# '''กรมเวียง''' มีขุนเวียงเป็นหัวหน้า ทำหน้าที่ดูแลความสงบสุขของบ้านเมืองและราษฎร
# '''กรมวัง''' มีขุนวังเป็นหัวหน้า ทำหน้าที่ดูแลราชสำนัก คดีความ แต่งตั้งยกกระบัตรไปประจำยังหัวเมือง (ทำหน้าที่รายงานข่าวมายังพระนคร)
# '''กรมคลัง''' มีขุนคลังเป็นหัวหน้า ทำหน้าที่เก็บรักษาและจ่ายพระราชทรัพย์ในราชการ
# '''กรมนา''' มีขุนนาเป็นหัวหน้า ทำหน้าที่ตรวจการทำไร่นา ออกสิทธิ์ที่นา เก็บภาษีเป็นผลผลิตจากเกษตรกร และเก็บส่วนแบ่งข้าวมาไว้ในฉางหลวง
 
 
♣อยุธยาปกครองโดยระบอบ '''สมบูรณาสิทธิราชย์''' พระมหากษัตริย์สมัยอยุธยามีฐานะเป็น ราชาธิปไตยแปลว่า อำนาจอยู่ที่พระมหากษัตรย์เพียงผู้เดียว ขณะสมัยสุโขทัยพระมหากษัตริย์มีฐานะเป็นธรรมราชา
 
เส้น 16 ⟶ 10:
3.คลัง มีหน้าที่ เก็บรักษาพระราชทรัพย์
4.นา มีหน้าที่ ดูแลไร่นา
<ref>
[[ไฟล์:ปุณณวิช|defaultpx|thumbnail|การปกครอง]]
</ref>
<gallery>
Example.jpg|คำอธิบายภาพ1
Example.jpg|คำอธิบายภาพ2
</gallery>
 
== อ้างอิง ==