ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Watcharakorn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''อ''' เป็น[[อักษรไทย]] จำพวก[[พยัญชนะ]] อยู่ในลำดับ ที่ 43 ถัดจาก [[ฬ]] และก่อนถึง [[ฮ]] มักจะเรียกกันว่า อ อ่าง ในการจัดหมู่อักษร นับเป็น[[อักษรกลาง]] ใน[[ไตรยางศ์]] ผันได้ครบ 5 เสียง และเติม [[วรรณยุกต์]]ได้ทั้ง 4 รูป
 
โดยทั่วไปเรามักจัดให้ อ เป็นเสียง[[สระ]] แต่ในทาง[[ภาษาศาสตร์]] ถือว่า อ นั้น เป็นพยัญชนะปิดหรือหยุด ฐานเสียงเกิดที่ลำคอ (ใช้[[สัทอักษร]] /?<span style="font:120% {{IPA fonts}},sans-serif">&#660;</span>/ คล้าย[[เครื่องหมายคำถาม]] แต่ไม่มีจุดข้างล่าง) เมื่อพิจารณาจากรูปเขียนจะเข้าใจได้ยาก ในที่นี้จึงขอยกมาเป็น 2 กรณี คือ กรณีเป็น[[พยัญชนะต้น]] และเป็นพยัญชนะ[[ตัวสะกด]]
 
==พยัญชนะต้น==
เมื่อเป็นพยัญชนะต้น “อ” จะถูกใช้เป็นทุ่นเกาะสำหรับสระ เช่น อาหาร, อีก อุ่น ฯลฯ ในทางภาษาศาสตร์ ถือว่า อ เป็นพยัญชนะ ที่ประสมด้วย สระ (ในที่นี้ คือ สระอา และสระอี ตามลำดับ)
 
ในตำแหน่งพยัญชนะต้น เสียง อ ที่เป็นพยัญชนะหยุด อาจหายไป เหลือแต่เสียงสระ ก็ได้ นั่นคือ /?<span style="font:120% {{IPA fonts}},sans-serif">&#660;</span>a:-ha:n/ เ /a:-ha:n/ ซึ่งในตัวอย่างที่ยกมาจะสังเกตได้ยาก แต่จะเห็นได้ชัดเจน เมื่อมี[[พยางค์]]อื่นนำหน้าเสียง อ เช่น “คุณอา” (/khun-?<span style="font:120% {{IPA fonts}},sans-serif">&#660;</span>a:/ ไม่ใช่ /khuna:/) เสียงพยัญชนะ “น” ของพยางค์หน้า ไม่ถูกกลมกลืนเสียง (assimilate) ด้วยสระอา ในพยางค์หลัง เพราะมีเสียง “อ” คั่นอยู่ แต่ในภาษาอื่น อาจกลืนเสียงเป็น “คุณนา” ได้ เช่น ในคำว่า บางปะอิน เมื่อเขียนด้วย[[อักษรโรมัน]]จึงมักจะมีขีดแยกคำ Bang Pa-in เพื่อไม่ให้เสียง อะ กับ อิ กลมกลืนเป็น[[สระประสม]]ตามลักษณะการประสมคำในภาษาอื่นที่เขียนด้วยอักษรโรมัน
 
==ตัวสะกด==
บรรทัด 14:
อย่างไรก็ตาม ในคำที่มีหลายพยางค์ เสียง “อ” ที่เป็นพยัญชนะตัวสะกด อาจหายไป เมื่อพยางค์นั้นไม่เน้น เช่น
 
กุมารี อาจออกเสียงเป็น /ku?<span style="font:120% {{IPA fonts}},sans-serif">&#660;</span>-ma:-ri:/ หรือ /ku-ma:-ri:/,
 
อารยธรรม อาจปรากฏเสียงอ สะกด ที่ ยะ แต่ไม่ปรากฏที่ ระ เพราะคำนี้เมื่อออกเสียงมักจะเน้นเสียงที่ ยะ ขณะที่ ระ นั้นออกเสียงเบากว่า ส่วนคำว่า พลังงาน เสียง “พะ” เบาจนเป็นเสียงสามัญ (ไม่ใช่เสียงตรี อย่างรูปปรากฏ) มักจะไม่ออกเสียง “อ” ที่เป็นตัวสะกด
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อ"