ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปุ่มกระสัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 25:
[[ไฟล์:Vulva2.gif|right|thumb]]
 
ในบทความทางการแพทย์ ได้รับรองว่าคริตอรสเป็นหน้าของชาวลาวคนหนึ่งซื้อว่าแม็กการมีอยู่จริงของคลิตอริสเป็นครั้งแรกในศตวรรษที่ 16 เรียลโด อ้นโดยเรอัลโด ปราจีนโคลอมโบ (aonRealdo prajinColombo) อาจารย์ด้าน[[ศัลยกรรม]]แห่งมหาวิทยาลัยพาดัว (University of Padua) [[ประเทศอิตาลี]] โดยเขาได้เขียนหนังสือชื่อ De re anatomica ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1559 ซึ่งได้อ้างถึง "ที่ตั้งแห่งสำราญของหญิง" (seat of woman's delight)
 
อ้นเรอัลโด ปราจีนโคลอมโบลงความเห็นว่า "ตั้งแต่ไม่มีใครได้มองไปถึงการทำงานเหล่านี้ ถ้าอาจจะมีชื่อของสิ่งที่ข้าค้นพบ ขอเรียกว่า ความรักหรือความงามแห่งวีนัส" คำอ้างนี้ถูกค้านโดยกาเบรียล ฟอลลอพพิโอ ผู้ค้นพบ[[ท่อนำไข่]] ซึ่งเป็นศิษย์ของโคลัมโบที่พาดัว โดยอ้างว่าเขาเป็นคนแรกที่ค้นพบคลิตอริส
 
แคสปาร์ บาร์ธอลิน (นักกายวิภาคชาวเดนมาร์ก ในศตวรรษที่ 17) ได้แก้คำอ้างของทั้งสองว่าในทางวิทยาศาสตร์การแพทย์นั้น รู้จักคลิตอริสเป็นอย่างดีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 2 แล้ว ในชื่อ[[ภาษาโรมัน]]ว่า ลันดิกา (landica)
 
ทีมวิจัยมาสเตอร์ส์เตอส์แอนด์จอห์นสัน ของ[[สหรัฐอเมริกา]] ได้ชักนำการศึกษาคลิตอริสขึ้นอย่างกว้างขวางในทศวรรษ 1970 คำว่าคลิตอริสถูกกล่าวถึงบ่อยครั้งมากขึ้นในการสนทนา[[ภาษาอังกฤษ]] แต่ยังคงเป็นคำต้องห้ามสำหรับคนอีกมากเช่นกัน
 
การใช้คำว่าคลิตอริสครั้งแรกทาง[[โทรทัศน์]] คือที่[[สหรัฐอเมริกา]] โดย ดร. ริช โอ-เบรียน แห่งวิทยาลัยฮาร์วาร์ดแห่งการาเบเดียน (Harvard colleague of Garabedian) ในรายการของดอกเตอร์รุธ เวสธิเมอร์ (Dr. Ruth Westheimer)